Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1627
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ไพบูรณ์ คะเชนทรพรรค์ | th_TH |
dc.contributor.author | ณัฎฐพัชร คุ้มบัว, 2526- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-09-23T06:05:16Z | - |
dc.date.available | 2022-09-23T06:05:16Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1627 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม. (นิเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) พฤติกรรมการใช้สื่อสังคม (2) การรู้เท่าทันสื่อสังคมเรื่องเพศ (3) เปรียบเทียบลักษณะทางประชากรกับการรู้เท่าทันสื่อสังคมเรื่องเพศ และ (4) ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมกับการรู้เท่าทันสื่อสังคมเรื่องเพศของนักเรียน นักศึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียน/นักศึกษาสถาบันบัณฑิต พัฒนศิลป์ ระดับมัธยมศึกษา (ม.1- ม.6) และระดับอาชีวศึกษา (ปวช.,ปวส.) จํานวน 380 คน โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ เครื่องมือการวิจัยคือแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ ค่าความถี่ค่าร้อย ละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดี่ยว และ สัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างเปิดรับข่าวสารจากสื่อสังคมทุกวัน โดยใช้เฟซบุ๊ก มากที่สุดและใช้เวลาเปิดรับสื่อ 5-6 ชั่วโมงต่อวัน ส่วนใหญ่เปิดรับเนื้อหาประเภทข่าวหรือเหตุการณ์ ประจําวันมากที่สุด รองลงมาเป็นการใช้ดูหนัง ฟังเพลงและสนทนากับเพื่อนในยามว่าง กลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่เปิดรับเนื้อหาทางเพศจากสื่อสังคมในภาพรวมอยูในระดับน้อย ใช้เวลาเปิดรับสื่อต่อครั้งน้อย กว่า 1 ชั่วโมง โดยเปิดรับรูปภาพโป๊ เปลือยหรือภาพลามกอนาจาร มากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 2.65 (2) กลุ่มตัวอย่างมีความรู้เท่าทันสื่อสังคมเรื่องเพศทั้ง 4 ด้าน ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ย 3.41 ด้าน ที่มีค่าเฉลี่ยการรู้เท่าทันสื่อสังคมเรื่องเพศมากที่สุดคือการสร้างสรรค์สื่อสังคมเรื่องเพศ มีค่าเฉลี่ย 3.59 อยู่ในระดับมากรองลงมาคือการวิเคราะห์สื่อสังคมเรื่องเพศ มีค่าเฉลี่ย 3.57 มีอยู่ในระดับมาก ด้านการประเมินสื่อสังคมเรื่องเพศ มีค่าเฉลี่ย 3.41 อยู่ในระดับมาก และการเข้าถึงสื่อสังคมเรื่องเพศ มีค่าเฉลี่ย 3.06 อยู่ในระดับปานกลาง (3) เพศ อายุ ระดับชั้นเรียน เกรดเฉลี่ยและที่พักอาศัยของนักเรียน/ นักศึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ที่แตกต่างกันมีการรู้เท่าทันสื่อสังคมเรื่องเพศต่างกันและ (4) พฤติกรรมการใช้สื่อสังคมของนักเรียน/นักศึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ มีความสัมพันธ์ กับการรู้เท่าทันสื่อสังคมเรื่องเพศ โดยมีความสัมพันธ์แบบผกผันหรือในทิศทางตรงกันข้าม | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2018.12 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การรู้เท่าทันสื่อ | th_TH |
dc.subject | สื่อสังคมออนไลน์ | th_TH |
dc.title | การรู้เท่าทันสื่อสังคมเรื่องเพศของนักเรียนนักศึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ | th_TH |
dc.title.alternative | Social media literacy on sexuality among Bunditpatanasilpa Institute students | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2018.12 | en_US |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research was to study Bunditpatanasilpa Institute’s students in terms of (1) their social media usage; (2) their social media literacy on sexual content; (3) the relationships between demographic factors and level of social media literacy on sexual content; and (4) the relationship between social media usage and level of social media literacy on sexual content. This was a survey research, using questionnair. The sample was 380 students enrolled in secondary school (matayom 1-6) and vocational courses at Bunditpatanasilpa Institute, chosen through stratified random sampling. Data were statistically analyzed to find frequency, percentage, standard deviation, t-test, ANOVA and Pearson’s correlated coefficient. The results showed that (1) the sample used social media every day, on average of 5-6 hours per day, Facebook was used the most. The sample mostly looked at news or everyday events, followed by watching movies, listening to music and chatting with friends during their free time. The majority of sample reported looking at sexual content on social media to a small degree; less than one hour at a time. The most common type of sexual content was pornography (mean 2.65). (2) Overall, the sample had a medium level of social media literacy regarding sexual content (mean 3.41). They were the most literate regarding the sexual content creation (mean 3.59), followed by the aspect of sexual content analysis (mean 3.57), sexual content evaluation (mean 3.41) and sexual content access (mean 3.06). (3) Difference in the factors of sex, age, grade level, grade point average, and place of residence were related to differences in level of social media literacy about sexual content. (4) There was an inverse correlation between social media use behavior and level of social media literacy about sexual topics | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สันทัด ทองรินทร์ | th_TH |
Appears in Collections: | Comm-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib159684.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.54 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License