Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1651
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุทธีพร มูลศาสตร์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | วันเพ็ญ แก้วปาน, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | อรนุช ตรีทิพย์วาณิชย์, 2507- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-09-30T03:14:19Z | - |
dc.date.available | 2022-09-30T03:14:19Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1651 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม (การบริหารการพยาบาล)) - - มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา (1) สมรรถนะทางวัฒนธรรมของพยาบาลวิชาชีพในโรงพบาลเอกชนแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร (2) ความสัมพันธ์ของปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจ การรับรู้นโยบายองค์กรด้านวัฒนธรรม วิถีชีวิตและค่านิยมทางวัฒนธรรม ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม กับสมรรถนะทางวัฒนธรรมของพยาบาลวิชาชีพ และ (3) ความสามารถในการทำนายของปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจ การรับรู้นโยบายองค์กรด้านวัฒนธรรม วิถีชีวิตและค่านิยม ทางวัฒนธรรม ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม ต่อสมรรถนะทางวัฒนธรรมของพยาบาลวิชาชีพ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง จำนวน 135 คน เครื่องมือวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย 5 ส่วน ได้แก่ (1) ข้อมูลส่วนบุคคล (2) การรับรู้นโยบาย องค์กรด้านวัฒนธรรม (3) วิถีชีวิตและค่านิยมทางวัฒนธรรม (4) ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม และ (5) สมรรถนะทางวัฒนธรรม มีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาของส่วนที่ 2-5 เท่ากับ .88, .92, .88, .88 และค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบราคเท่ากับ .82, .96, .81 และ .98 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดย ใช้สถิติพรรณนา สถิติสหพันธ์แบบเพียร์สัน และสถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า (1) สมรรถนะทางวัฒนธรรมของพยาบาลวิชาชีพ โดยรวมอยู่ในระดับ มาก โดยด้านความปรารถนาที่จะมีสมรรถนะทางวัฒนธรรมและด้านการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้บริการที่ต่างวัฒนธรรมอยู่ในระดับมาก แต่ด้านความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม ด้านทักษะเกี่ยวกับวัฒนธรรม และ ด้านการตระหนักรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม อยู่ในระดับปานกลาง (2) ค่านิยมด้านวัฒนธรรม เจตคติด้าน วัฒนธรรม การรับข้อมูลข่าวสารทางเทคโนโลยี การรับรู้นโยบายองค์กรด้านวัฒนธรรม ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม ความสามารถในการใช้ภาษา โอกาสในการปฏิสัมพันธ์มีความสัมพันธ์กับสมรรถนะทางวัฒนธรรมของพยาบาลวิชาชีพ แต่รายได้และประสบการณ์ในการทำงานไม่มีความสัมพันธ์กับสมรรถนะทางวัฒนธรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) ค่านิยมด้านวัฒนธรรม การรับรู้ ข้อมูลข่าวสารทางเทคโนโลยี ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม การรับรู้นโยบายองค์กรด้านวัฒนธรรม และ เจตคติด้านวัฒนธรรมสามารถร่วมกันทำนายสมรรถนะทางวัฒนธรรมของพยาบาลวิชาชีพได้ร้อยละ 45.0 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | สมรรถนะ | th_TH |
dc.subject | การทำงาน | th_TH |
dc.subject | พยาบาลวิชาชีพ -- ไทย | th_TH |
dc.title | ปัจจัยทำนายสมรรถนะทางวัฒนธรรมของพยาบาลวิชาชีพกรณีศึกษาในโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร | th_TH |
dc.title.alternative | Factors predicting cultural competency of registered nurses a case study at a private hospital in Bangkok | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการพยาบาล) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this descriptive research were: (1 ) to study the cultural competency of registered nurses at a private hospital, (2) to explore the relationships between social factors and economics, the perception for the policy related to culture, life style and cultural value, cultural knowledge and the cultural competency of registered nurses, and (3) to investigate the predicted power of social factors and economics, the perception for the policy related to culture, life style and cultural value, cultural knowledge to the cultural competency of registered nurses The sample included 135 registered nurses at a private hospital. Questionnaires were comprised five sections: (1) personal data, (2) the perception for the policy related to culture, (3) life style and cultural value, (4) cultural knowledge, and (5) cultural competency. The content validity indexes of the second to the fifth sections were .88, .92, .88, .88, and Cronbach’s alpha coefficients were .82, .96, .81, and .98, respectively. Data were analyzed by descriptive statistics, Pearson product moment correlation, and stepwise multiple regression analysis. The results revealed as follows: (1) registered nurses rated their cultural competency at the high level. They rated the domain of the cultural desire and the cultural encounter at a high level; meanwhile, they rated the cultural knowledge, cultural skills, and cultural awareness at the moderate level. ( 2) There were significant relationships between cultural values, cultural attitude, perception of technology information, the perception for the policy related to culture, cultural knowledge, language performance, chance to contact foreigner, and the cultural competency of registered nurses, but there was no significant relationship between salary, working experience, and cultural competency at p-value .05. (3) Cultural values, perception of technology information, cultural knowledge, the perception for the policy related to culture, and cultural attitude could predict cultural competency which accounted for 45.0% of the variance at p-value .05 | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib165009.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 17.34 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License