กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1655
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorดวงกมล ปิ่นเฉลี่ยวth_TH
dc.contributor.authorอังสินี กันสุขเจริญ, 2514th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-09-30T04:11:18Z-
dc.date.available2022-09-30T04:11:18Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1655en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองนื้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ผลของโปรแกรมพัฒนาความตระหนักรู้ และทักษะการป้องกันการตั้งครรภ์ซํ้าต่อความตระหนักรู้ในตนเองและพฤติกรรมป้องกันการตั้งครรภ์ซํ้าของมารดาวัยรุ่น จังหวัดเพชรบุรี กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาวัยรุ่นหลังคลอดบุตรคนแรกอายุน้อยกว่า 20 ปี ที่มารับบริการที่แผนกหลังคลอดในโรงพยาบาลทั่วไป จังหวัดเพชรบุรี จำนวน 50 คน ซึ่งได้มาจากการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มละ 25 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ 1) โปรแกรมพัฒนาความตระหนักรู้และทักษะการป้องกันการตั้งครรภ์ชํ้าโดยประยุกต์ใช้แบบจำลองข้อมูล แรงจูงใจและทักษะทางพฤติกรรม ร่วมกับทฤษฎีความตระหนักรู้ในตนเอง มีระยะเวลาดำเนินการ 8 สัปดาห์ กิจกรรมประกอบด้วย (1) การสร้างความตระหนักรู้ (2) การให้ข้อมูล 3) การสร้างแรงจูงใจ และ (4) การพัฒนาทักษะการป้องกันการตั้งครรภ์ซํ้า 2) แบบสอบถาม ได้แก่ แบบสอบถามความตระหนักรู้ในตนเองและพฤติกรรมป้องกันการตั้งครรภ์ซํ้า มีค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ .91 และ .93 และค่าความเที่ยงเท่ากับ .92 และ .92 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า ความตระหนักรู้ในตนเอง และพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ซํ้าของมารดาวัยรุ่นในกลุ่มทดลองหลังเข้าร่วมโปรแกรมสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมและสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น--การป้องกันth_TH
dc.subjectคุมกำเนิดth_TH
dc.titleผลของโปรแกรมพัฒนาความตระหนักรู้และทักษะการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำต่อการตระหนักรู้และพฤติกรรมป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำในมารดาวัยรุ่น จังหวัดเพชรบุรีth_TH
dc.title.alternativeEffects of a self-awareness and behavioral skills development program on self-awareness and repeated pregnancy prevention behaviors in teenage mothers, Phetchaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this quasi-experimental research was to study the effects of a self-awareness and behavioral skills development program on self-awareness and repeated pregnancy prevention behaviors of teenage mothers in Phetchaburi Province. The sample were 50 teenage mothers (age less than 20) admitted at the postnatal unit of Phetchaburi Hospital, selected by purposive sampling, and they were divided into the experimental (25) and the comparative (25) groups. The research instruments included: 1) a self-awareness and behavioral skills development program which was developed based on the informational motivation behavior skill model and self-awareness theory; The duration of the program was 8 weeks. The activities comprised: (1) developing self-awareness; (2) giving information; (3) enhancing motivation; and (4) developing behavioral skills; and 2) self-awareness and repeated pregnancy preventive behaviors questionnaires. Content validity indexes (CVIs) of the questionnaires were .91 and .93, and the reliability scores were .92 and .92, respectively. Data were analyzed by descriptive statistics and t-test. The result revealed as follows. After attending the program, self-awareness and repeated pregnancy preventive behaviors of the experimental group were significantly higher than before attending the program, and significantly higher than the comparative group (p<.05).en_US
dc.contributor.coadvisorทิพย์ฆัมพร เกษโกมลth_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Nurse-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Thesbib165219.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.65 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons