Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1690
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | บุญทิพย์ สิริธรังศรี, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | กนกพร ดุสิตกุล, 2495- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-10-10T08:14:33Z | - |
dc.date.available | 2022-10-10T08:14:33Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1690 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 | th_TH |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการดำเนินงานการบริหารมุ่งผลงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของหัวหน้าหอผู้ป่วย และพยาบาลประจำการ โรงพยาบาล มหาราชนครศรีธรรมราช กลุ่มตัวอย่าง คือ หัวหน้าหอผู้ป่วย 31 คน และพยาบาลวิชาชีพ 236 คน ซึ่งปฏิบัติงาน ใน หอผู้ป่วยนอก หอผู้ป่วยใน หอผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน และห้องผ่าตัด โรงพยาบาลมหาราช นครศรีธรรมราช ที่มีประสบการณ์ในตำแหน่งดังกล่าวอย่างน้อย 1 ปี เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ รวบรวมข้อมูลประกอบด้วย 2 ส่วน ส่วนที่ 1 แบบบันทีกข้อมูลส่วนบุคคล และส่วนที่ 2 แบบสอบถามการรับรู้การดำเนินงานการบริหารแบบมุ่งผลงานซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นตามแนวคิด ของ อาร์ทเล่ย์ เอลลิลัน และเคนเนดี (Artley Ellison and Kennedy 2001) จำนวน 46 ข้อ เป็นแบบ ประมาณค่า 5 ระดับ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 8 ท่านและคำนวณดัชนีความ ตรงตามเนื้อหาได้ 0.89 ทดสอบความเที่ยงโดยนำไปใช้กับกลุ่มหัวหน้าหอผู้ป่วยและพยาบาล ประจำการกลุ่มละ 20 คน ได้ค่าความเที่ยง 0.97 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ รัอยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า (1) หัวหน้าหอผู้ป่วยมีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้การดำเนินงานการ บริหารแบบมุ่งผลงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยรวมทุกขั้นตอน และรายขั้นตอนในขั้นตอนที่ 1, 2, 3, 4 และ 6 อยู่ในระดับสูง ส่วนขั้นตอนที่ 5 อยู่ในระดับปานกลาง (2) พยาบาลประจำการมีคะแนน เฉลี่ยการรับรู้การดำเนินงานการบริหารแบบมุ่งผลงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย รวมทุกขั้นตอน และราย ขั้นตอนทุกขั้นตอนอยู่ในระดับสูง (3) หัวหน้าหอผู้ป่วยและพยาบาลประจำการ มีคะแนนเฉลี่ย การรับรู้การดำเนินงานการบริหารแบบมุ่งผลงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย รวมทุกขั้นตอนและราย ขั้นตอน ไม่แตกต่างกัน (p< .05) | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.232 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การพยาบาล -- การบริหาร | th_TH |
dc.subject | การพยาบาล -- การประเมิน | th_TH |
dc.subject | หัวหน้าพยาบาล | th_TH |
dc.title | เปรียบเทียบการดำเนินงานการบริหารแบบมุ่งผลงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของหัวหน้าหอผู้ป่วยและพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช | th_TH |
dc.title.alternative | The comparative study of the perception of performanace-based management between head nurses and staft nurses at Maharaj Nakorn Si Thammarat Hospital | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2007.232 | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to study (1) the level of performance - based management of head nurses perceived by head nurses (2) the level of performance-based management of head nurses perceived by staff nurses and (3) to compare the perception of performance-based management perception between head nurses and staff nurses at Maharaj Nakom Si Thammarat Hospital. The subjects consisted of thirty-one head nurses and 236 staff nurses who were in charge of out-patient units, in-patient departments, emergency care units, and operation rooms for more than one year. The research instrument comprised two parts: personal data form and performance-based management questionnaires developed based on Artley Ellison and Kennedy (2001). The questionnaire included 46 items, scored on a five-point Likert scale. Content validity was examined by eight experts. Content validity index was 0.89. Reliability was tested with twenty head nurses and twenty staff nurses. The reliability scale was 0.97. Data were analyzed by percentage, mean, standard deviation, and t-test. The findings were as follows. (1) Head nurses rated their perception of performance-based management in each category at the high level; whereas only the step five was rated at the middle level. (2) Staff nurses rated their perception of performance-based management in each category at the high level. (3) There was no significant different between head nurses’ and staff nurses’perception of performance-base management (p>0.05) | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib105449.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.55 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License