Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1698
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเบญจมาศ อยู่ประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพลสราญ สราญรมย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorคนึงนุช พึ่มชัย, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-11T02:41:45Z-
dc.date.available2022-10-11T02:41:45Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1698-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพพื้นฐานทางสังคม และเศรษฐกิจ (2) การส่งเสริมการผลิตเมล็ดพันธุ์ (3) ความรู้เกี่ยวกับการผลิตเมล็ดพันธุ์ (4) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการผลิตเมล็ดพันธุ์ ของสมาชิกศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวอุดรธานี ผลการวิจัย พบว่า (1) สมาชิกผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว มีอายุเฉลี่ย 51.91 ปี มากกว่าครึ่งหนึ่งจบการศึกษาระดับประถมศึกษา มีพื้นที่ในการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวเฉลี่ย 14.74 ไร่ มีจานวนแรงงานในการทานา เฉลี่ย 2.71 คน และรายได้มาจากการจาหน่ายเมล็ดพันธุ์ให้กับศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวอุดรธานี เฉลี่ย 92,500 บาท/ปี (2) สมาชิกศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวอุดรธานีทั้งหมด ได้รับการส่งเสริมผ่านการสื่อสารแบบรายบุคคล และแบบกลุ่ม โดย ได้รับความรู้ในระดับมากที่สุดจากการส่งเสริมแบบกลุ่มในทุกวิธี ได้แก่ วิธีที่เจ้าหน้าที่เข้าไปพบเกษตรกรที่บ้าน วิธีการอบรม วิธีการสาธิต และการศึกษาดูงาน ตามลาดับ ได้รับความรู้ในระดับมากที่สุดโดยผ่านการส่งเสริมแบบรายบุคคล ในวิธีที่เจ้าหน้าที่เข้าไปพบเกษตรกรที่บ้าน และได้รับความรู้ในระดับมาก ในวิธีพบเจ้าหน้าที่ที่สานักงาน และการติดต่อทางโทรศัพท์ ตามลาดับ (2) สมาชิกศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวอุดรธานีเกือบทั้งหมด ทาการผลิตเมล็ดพันธุ์ตามหลักวิชาการ ตามที่ได้รับการส่งเสริม ซึ่งปฏิบัติอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด โดยทุกรายปฏิบัติในขั้นตอนการกาจัดพันธุ์ปน ในประเด็น การถอนกาจัดต้นข้าวที่มีลักษณะของเมล็ดผิดไปจากเมล็ดพันธุ์ข้าวที่ปลูก เช่น มีเมล็ดสั้น หรือยาว หรืออ้วน หรือผอม หรือมีสีเปลือกแตกต่าง ออกจากแปลงนา แต่ปฏิบัติน้อยที่สุดในขั้นตอนการเก็บเกี่ยวและการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว ในประเด็น การเก็บเกี่ยวระยะพลับพลึง ซึ่งจะเก็บเกี่ยวข้าวหลังจากที่ข้าวออกดอกเป็นเวลา 28 - 30 วัน (3) สมาชิกศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวอุดธานีเกือบทั้งหมด มีความรู้เกี่ยวกับการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด ซึ่งมีความรู้มากที่สุด ในขั้นตอนการเตรียมพื้นที่ ในประเด็นการเตรียมดินว่าควรทาการไถดะ 1 ครั้ง ไถแปร และคราด 1 - 2 ครั้ง และมีความรู้น้อยที่สุด ในขั้นตอนการเตรียมเมล็ดพันธุ์และการตกกล้า ในประเด็นควรแช่เมล็ดพันธุ์ข้าวในน้า 12 – 24 ชั่วโมง แล้วนามาหุ้มนาน 30 – 48 ชั่วโมง ก่อนนาไปตกกล้า (4) สมาชิกศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวอุดรธานี มีปัญหาในการผลิตเมล็ดพันธุ์ ระดับมาก ในขั้นตอนการปลูก ในประเด็น ค่าจ้างแรงงานมีราคาสูง และแรงงานในครัวเรือนที่ใช้ในการปลูกไม่เพียงพอ มีข้อเสนอแนะว่า ต้องการให้เจ้าหน้าที่เข้ามาส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีใหม่ๆ ในกระบวนการผลิต ตลอดจนการลดต้นทุนในการผลิตเมล็ดพันธุ์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectข้าว--เมล็ดพันธุ์--การผลิตth_TH
dc.titleการส่งเสริมการผลิตเมล็ดพันธุ์ของสมาชิกศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวอุดรธานีth_TH
dc.title.alternativeExtension of rice seed production by members of Udon Thani Rice Seed Centeren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
159824.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.34 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons