Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1705
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เฉลิมศักดิ์ ตุ้มหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | จินดา ขลิบทอง, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ปภาดา เผ่าเพ็ง, 2520- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-10-11T03:54:04Z | - |
dc.date.available | 2022-10-11T03:54:04Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1705 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมและการพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ข้อมูลพื้นฐานส่วนบุคคล ข้อมูลทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร (2) สภาพการผลิตมันสำปะหลังของเกษตรกร (3) ปัญหาและการแก้ไขปัญหาของเกษตรกร (4) ความต้องการการส่งเสริมเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังของเกษตรกร (5) แนวทางการส่งเสริมเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังของเกษตรกร ผลการวิจัย พบว่า (1) เกษตรกรร้อยละ 55.7 เป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 50.53 ปี จบประถมศึกษา ร้อยละ 44.1 เป็นกลุ่มลูกค้า ธ.ก.ส. ร้อยละ 94.1 ได้รับข้อมูลเกี่ยวกับมันสำปะหลังจากนักส่งเสริมการเกษตร พื้นที่ปลูกมันสำปะหลังทั้งหมดเฉลี่ย 22.56 ไร่ ผลผลิตมันสำปะหลังเฉลี่ย 3,000 กิโลกรัมต่อไร่ รายได้จากการขายผลผลิตมันสำปะหลังเฉลี่ย 6,038.93 บาท ต่อไร่ ต้นทุนการผลิตมันสำปะหลังเฉลี่ย 4,948.74 บาทต่อไร่ (2) เกษตรกรร้อยละ 59.1 ใช้พันธุ์ที่เหมาะสมกับพื้นที่และมีการรับรองสายพันธุ์ ปลูกในช่วงต้นฝน (มีนาคม-พฤษภาคม) ไถกลบวัชพืช ตากดิน อย่างน้อย 2 สัปดาห์ ปรับปรุงบำรุงดินด้วยปุ๋ยอินทรีย์ (3) เกษตรกรมีปัญหาในระดับมาก จำนวน 11 ประเด็นได้แก่ การเลือกใช้พันธุ์ที่เหมาะสม การปรับปรุงบำรุงดิน การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ การใช้ปุ๋ยพืชสด การใช้ปุ๋ยเคมี การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน การใช้สารชีวภัณฑ์ ตัวน้ำ ตัวเบียน การจัดการระบบน้ำ แหล่งน้ำ และคุณภาพผลผลิต (4) เกษตรกรต้องการความรู้ระดับมากที่สุด | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร | th_TH |
dc.subject | มันสำปะหลัง--การผลิต | th_TH |
dc.subject | มันสำปะหลัง--การผลิต--เทคโนโลยีที่เหมาะสม | th_TH |
dc.title | แนวทางการส่งเสริมเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังของเกษตรกรตำบลพันดุง อำเภอขามทะเลสอ จังหวัดนครราชสีมา | th_TH |
dc.title.alternative | Extension guideline of cassava production technology of farmer in Pundung Tambol , Kham Thale So District, Nakhon Ratchasima Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
162647.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 20.39 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License