Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1707
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พลสราญ สราญรมย์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | เบญจมาศ อยู่ประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | มัทนา คุณเอนก, 2523- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-10-11T04:09:44Z | - |
dc.date.available | 2022-10-11T04:09:44Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1707 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมและพัฒนาเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพสังคมและสภาพเศรษฐกิจของสมาชิกกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร 2) บทบาทหน้าที่ของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรสมาชิก 3) การดำเนินงานและข้อเสนอแนะ 4) ความต้องการการส่งเสริมการดำเนินงานของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร ประชากรกลุ่มแม่บ้าน จำนวน 840 ราย กลุ่มตัวอย่างโดยวิธีเฉพาะเจาะจง จำนวน 7 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณา การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1) สมาชิกมีอายุเฉลี่ย 51.29 ปี มากว่าครึ่งหนึ่งจบการศึกษาระดับประถมศึกษา การเป็นสมาชิก เฉลี่ย 11.91 ปี 2) บทบาทหน้าที่ของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรสมาชิกส่วนใหญ่เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเองและปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่นั้น 3) การดำเนินงานพบว่าด้านการจัดการสินค้าหรือการบริการเป็นอันดับสุดท้าย และข้อเสนอแนะคือด้านความมั่นคงด้านเศรษฐกิจในครัวเรือน 4) ความต้องการการส่งเสริมด้านเนื้อหา พบว่า ด้านความมั่นคงด้านเศรษฐกิจในครัวเรือนในระดับมากที่สุด 5) แนวทางการส่งเสริม ได้แก่ การศึกษาผลิตภัณฑ์หลัก/การสร้างความเข้มแข็ง และการบูรณาการกับหน่วยงานอื่นในการถ่ายทอดความรู้ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร--ไทย--จันทบุรี | th_TH |
dc.subject | การพัฒนาการเกษตร--การมีส่วนร่วมของประชาชน | th_TH |
dc.subject | เกษตรกร--ไทย--จันทบุรี | th_TH |
dc.title | แนวทางการพัฒนาการดำเนินงานของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรอำเภอโป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Operation development guidelines by agricultural housewife groups in Pong Nam Ron District Chanthaburi Provine | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
162167.pdf | เอกสาณฉบับเต็ม | 17.53 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License