Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1717
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพูลสุข หิงคานนท์th_TH
dc.contributor.authorเมตตา สุขวิทยาภรณ์, 2503-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-12T02:15:29Z-
dc.date.available2022-10-12T02:15:29Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1717en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมการนิเทศในการนิเทศงานของผู้นิเทศการพยาบาล โรงพยาบาลทั่วไปในเขต 2 (2) ศึกษาการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาล ของพยาบาลวิชาชีพที่ได้รับการนิเทศ โรงพยาบาลทั่วไปในเขต 2 (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการนิเทศของผู้นิเทศทางการพยาบาลกับการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาลของพยาบาล วิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไปในเขต 2 กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย 2 กลุ่ม คือหัวหน้าผู้ป่วย จำนวน 74 คน และพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 293 คน ที่ปฏิบัติงานที่โรงทยาบาลทั่วไป 5 แห่ง ในเขต 2 สุ่มตัวอย่างแบบง่ายเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น 2 ฉบับ คือฉบับที่ 1 สำหรับหัวหน้าหอผู้ป่วย สอบถามเกี่ยวกับความรู้ ทัศนคติและทักษะในการนิเทศงาน ส่วนที่ 2 สำหรับพยาบาลวิชาชีพสอบถามเกี่ยวกับการปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณของพยาบาลวิชาชีพ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงและความเที่ยงของแบบสอบถามโดยหาค่า KR 20 และสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ของแบบสอบถามแต่ละส่วน ได้ค่าความเที่ยงด้านความรู้ เท่ากับ 0.70 ด้านทัศนคติ เท่ากับ .94 ด้านทักษะเท่ากับ .92 และการปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพเท่ากัน .92 วิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปหา ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) พฤติกรรมการนิเทศการพยาบาลด้านความรู้ ของผู้นิเทศการพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง ด้านเจตคติอยู่ในระดับสูง ด้านทักษะในการนิเทศงานในระดับสูง (2) การปฏิบัติตามจรรยาบรรณของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป เขต 2 มีการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาลในภาพรวมทุกด้านในระดับมาก (3) ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการนิเทศงานของผู้นิเทศการพยาบาลกับการปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ พบว่าพฤติกรรมการนิเทศของผู้นิเทศการพยาบาลไม่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพโดยรวมทุกด้าน เมื่อพิจารณาพฤติกรรมการนิเทศงานรายด้าน พบว่าพฤติกรรมการนิเทศการพยาบาลด้านเจคติและด้านทักษะมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ ด้านการปฏิบัติต่อผู้ร่วมวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพที่ระดับนัยสำคัญ .05 (r = .347 และ .304 ตามลำดับ)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการพยาบาล--การบริหารth_TH
dc.subjectจรรยาบรรณพยาบาลth_TH
dc.subjectการนิเทศทางการพยาบาลth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการนิเทศของผู้นิเทศการพยาบาลกับการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาลทั่วไปเขต 2th_TH
dc.title.alternativeRelationships between supervising behaviors of nursing supervisors and nursing practice according to the professional nursing code of ethics of professional nurses in general hospital, region 2en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were: (1) to study supervising behaviors of nursing supervisors , (2) to investigate nursing practice of professional nurses who were supervised according to the professional nursing code of ethics , and (3) to find the relationship between supervising behaviors and nursing practice of professional nursing according to the professional nursing code of ethics at general hospital in region 2. The sample group comprised 2 groups: 74 head nurses and 293 professional nurses who work at General Hospital region 2 and was selected by simple random sampling .Two sets of questionnaires developed by researcher were used as research tools. They were tested for reliability and validity. The KR 20 of knowledge was 0.70. The Chronbach Alpha reliability coefficients of attitudes, skills, and nursing practice of professional nurses according to the professional nursing code of ethics were 0.94,0.92, and 0.92 respectively. Data were analyzed by using a computer program for percent, mean, standard deviation, correlation, and Chronbach Alpha coefficient. The findings were as follows. (1) Nurses rated knowledge of their nursing supervisors at the medium level. They rated attitudes and skills of nursing supervisors at the high level. (2) Nurses rated their nursing practice according to the professional nursing code of ethics at the high level. Finally, (3) there was no correlation between behaviors of nursing supervisors and nursing practice of professional nurses according to the professional nursing code of ethics. However, there was a statistically significant positive correlation between behavior of nursing supervisors in terms of attitudes (p < .05, r = .377) and skills (p < .05, r = .303) and nursing practice of professional nurses according to the professional nursing code of ethics in nursing and other professionals.en_US
dc.contributor.coadvisorสุภมาส อังศุโชติth_TH
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib107367.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.45 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons