Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1718
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพูลสุข หิงคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุภมาส อังศุโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมณี ณ บางช้าง, 2503--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-12T02:41:32Z-
dc.date.available2022-10-12T02:41:32Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1718-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัย ความรู้ ทัศนคติใน เรื่องการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพ 2) ศึกษาระดับการรับรู้การสนับสนุนจากผู้บริหารในการ พิทักษ์สิทธิผู้ป่วย 3) ศึกษาพฤติกรรมการปฏิบัติบทบาทการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพและ 4) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการปฏิบัติบทบาทการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี ประชากรในการวิจัยครั้งนี้คือพยาบาลวิชาชีพ ซึ่งปฏิบัติการพยาบาลของหอผู้ป่วยทุกแผนก ทุกงานของโรงพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรมุรี ทุกคน จำนวน 312 คน ทั้งนี้ไม่รวมพยาบาลวิชาชีพ ที่ปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้บริหาร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นเครื่องมือที่ผู้วิจัยสรัางขึ้น ประกอบด้วย แบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วย แบบวัดทัศนคติแบบสอบถามการรับรู้การ สนับสนุนจากผู้บริหารและแบบสอบถามพฤติกรรมการปฏิบัติบทบาทการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วย ซึ่งมีค่าความ เที่ยง .75 .85 .92 และ .86 ตามลำดับ ผลการวิจัยพบว่า 1) พยาบาลวิชาชีพส่วนใหญ่มีความรู้เรื่องการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยอยู่ในระดับมาก 2) พยาบาลวิชาชีพส่วนใหญ่มีทัศนคติต่อการพิทักษ์สิทธิในระดับดี 3) พยาบาลวิชาชีพมีการรับรู้การ สนับสนุนจากผู้บริหารเพื่อการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยในระดับมาก 4) พยาบาลวิชาชีพ มีพฤติกรรมการปฏิบัติ บทบาทการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยในระดับดี 5) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการปฏิบัติบทบาทการพิทักษ์ สิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพ คือการรับรู้การสนับสนุนจากผู้บริหารและทัศนคติ ซึ่งสามารถร่วมกัน ทำนายพฤติกรรมการปฏิบัติเกี่ยวกับการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพ ได้ ร้อยละ 26.5 ( R2 = 0.265)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสิทธิการรักษาพยาบาลth_TH
dc.subjectบริการการพยาบาลth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการปฏิบัติบทบาทการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรีth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting practic behaviors on patient advocacy of professional nurses in Prachomklao Hospital, Phetchaburi Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this descriptive research were : (1) to study- knowledge ,attitude to the practice behavior about patient advocacy ; (2) to study level of perception on administration support to the practice behavior about patient advocacy ; (3) to study the practice behavior about patient advocacy ; (4) to study the influences of knowledge , attitude , perception on administration support to the practice behavior about patient advocacy. The study population was 312 professional nurses in Prachomklao Hospital Phetchaburi Province in ever}' Department. Data were collected by questionnaires which reliability by KR 20 method and Cronbach s alpha coefficient method. The study results were as follows; (1) Most professional nurse had 40-49 years, had bachelor degrees ,worked 20 years ago ; (2) Most of professional nurse had knowledge on patient advocacy at a high level (mean 16.4 ); (3) Most of professional had attitude on patient advocacy at a good level (mean 3.89 ); (4) Most of professional percept on administration support at high level ( mean 3.7 ); (5) Most of professional had Practice behavior about patient advocacy at a good level (mean 3.97 ); (6) The perception on administration support and attitude could predict 26.5% of the practice behavior about patient advocacy (R2 = 0.265)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib107609.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.65 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons