Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1730
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินดา ขลิบทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเฉลิมศักดิ์ ตุ้มหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorฐิติขวัญ ศิริธัญญารัตน์, 2531--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-17T02:39:49Z-
dc.date.available2022-10-17T02:39:49Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1730-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมและการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรสมาชิกศูนย์ข้าวชุมชน (2) สภาพการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวของเกษตรกรสมาชิกศูนย์ข้าวชุมชน (3) การดำเนินงานของศูนย์ข้าวชุมชน (4) ความต้องการการส่งเสริมของเกษตรกรสมาชิกของศูนย์ข้าวชุมชน (5) ปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการดำเนินงานของศูนย์ข้าวชุมชน ผลการวิจัยพบว่า (1) เกษตรกรสมาชิกศูนย์ข้าวชุมชนทั้ง 3 กลุ่ม มีสภาพพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจ มีค่าเฉลี่ยใกล้เคียงกัน (2) เกษตรกรทั้ง 3 กลุ่ม มีการเตรียมและจัดหาพื้นที่ที่เหมาะสม แต่ยังขาดการปรับปรุงบำรุงดิน การปลูกมีการใช้เมล็ดพันธุ์ในอัตราที่เหมาะสม มีการตรวจและถอนตัดต้นข้าวพันธุ์ปน แต่กลุ่ม ข ยังมีการปลูกข้าวซ่อมโดยใช้ต้นกล้าจากแหล่งอื่น การดูแลรักษายังไม่ปฏิบัติในเรื่องการจัดการนํ้า การเก็บเกี่ยว มีการเก็บเกี่ยวในระยะที่เหมาะสม มีการทำความสะอาดเครื่องเก็บ แต่กลุ่ม ค ยังขาดการปฏิบัติในด้านการเก็บเกี่ยวข้าวในขอบแปลงด้านที่ติดกับแปลงนา การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าว กลุ่ม ข และกลุ่ม ค ไม่มีการตรวจสอบเมล็ดพันธุ์ข้าวหลังการลดความชื้น และไม่มีการคัดแยกสิ่งเจือปน การกระจายพันธุ์ กลุ่ม ข และกลุ่ม ค ไม่สามารถผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวได้ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ของศูนย์ข้าวชุมชน และไม่สามารถจำหน่ายเมล็ดพันธุ์ข้าวในชุมชนได้ (3) กลุ่ม ก เห็นด้วยต่อการดำเนินงานศูนย์ข้าวชุมชนในระดับมาก ส่วนกลุ่ม ข และกลุ่ม ค เห็นด้วยในระดับมาก ในเรื่องการถ่ายทอดเทคโนโลยีและเห็นด้วยระดับปานกลาง ในเรื่องการบริหารจัดการศูนย์ การผลิตเมล็ดพันธุ์ การกระจายพันธุ์ และการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ (4) เกษตรกรสมาชิกศูนย์ข้าวชุมชนทั้ง 3 กลุ่ม มีความต้องการการส่งเสริมจากภาครัฐ โดยโปสเตอร์และคู่มือ ช่องทางผ่านอินเตอร์เน็ต และการฝึกปฏิบัติ (5) กลุ่ม ก มีปัญหาในระดับน้อย กลุ่ม ข มีปัญหาในระดับปานกลาง และกลุ่ม ค มีปัญหาในระดับปานกลางและมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.uri10.14457/STOU.the.2015.246-
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.246-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectข้าว--การผลิต--ไทย--ขอนแก่นth_TH
dc.subjectข้าว--การปลูก--ไทย--ขอนแก่นth_TH
dc.titleการดำเนินงานของศูนย์ข้าวชุมชนในจังหวัดขอนแก่นth_TH
dc.title.alternativeThe operations of community centers in Khon Kaen Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
149666.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.83 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons