Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1733
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สินีนุช ครุฑเมือง แสนเสริม, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | พลสราญ สราญรมย์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ดารุณี แท่งเงิน, 2522- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-10-17T03:09:07Z | - |
dc.date.available | 2022-10-17T03:09:07Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1733 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเกษตรกรโครงการดินปุ๋ยชุมชน ในอำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพทางสังคม และเศรษฐกิจของเกษตรกร 2) เพื่อศึกษาความรู้เกี่ยวกับการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในนาข้าวของเกษตรกร 3) เพื่อศึกษาการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในนาข้าวของเกษตรกร 4) เพื่อศึกษาความความคิดเห็นของเกษตรกรต่อระดับความสำคัญปัจจัยด้านต่างๆต่อการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในนาข้าว 5) เพื่อศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวเกี่ยวกับการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในนาข้าวของเกษตรกร ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรกว่าครึ่งเป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 48 ปี เกือบครึ่งจบการศึกษาระดับประถมศึกษา มีประสบการณ์การประกอบอาชีพทำนาเฉลี่ย 19.67 ปี และมีค่าใช้จ่ายในการผลิตข้าวเฉลี่ย 3,001 – 4,000 บาทต่อไร่ 2) เกษตรกรกว่าครึ่งมีความรู้เกี่ยวกับการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ตามหลักวิชาการเกษตร อยู่ในระดับมาก 3) เกษตรกรกว่าครึ่ง มีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์มากกว่า 2 ประเภท และเกษตรกรส่วนใหญ่ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยเคมี ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ปุ๋ยคอกในระยะเตรียมดิน ในอัตรา 501 – 1000 กิโลกรัมต่อไร่ เกษตรกรบางส่วนใช้ปุ๋ยอินทรีย์นํ้า และปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดในช่วงระยะข้าวแตกกอ 4) เกษตรกรเห็นว่าระดับความสำคัญของปัจจัยด้านต่างๆ ต่อการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในนาข้าวอยู่ในระดับมาก ทั้ง 6 ด้าน ได้แก่ ด้านคุณลักษณะของปุ๋ยอินทรีย์ ด้านเศรษฐกิจ ด้านการส่งเสริมการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ด้านการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ ด้านการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และด้านวิธีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ 5) เกษตรกรเห็นว่าปัญหาและข้อเสนอแนะในการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในนาข้าวทั้ง 6 ด้าน อยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านคุณลักษณะของปุ๋ยอินทรีย์ ด้านเศรษฐกิจ ด้านการส่งเสริมการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ด้านการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ ด้านการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และด้านวิธีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.29 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ปุ๋ยอินทรีย์ | th_TH |
dc.title | การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในนาข้าวของเกษตรกร โครงการดินปุ๋ยชุมชน ในอำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย | th_TH |
dc.title.alternative | Utilization of organic fertilizers by farmers in community soil and fertilizer project in Kong Krailat District, Sukhothai Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2015.29 | - |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
151579.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 12.54 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License