Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1741
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมุกดา หนุ่ยศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorหทัยรัตน์ ชัยดวง, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-17T07:17:19Z-
dc.date.available2022-10-17T07:17:19Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1741-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาเพื่อ (1) ศึกษาระดับอุปนิสัยของผู้บริหารการ พยาบาล (2) ศึกษาระดับบรรยากาศของกลุ่มการพยาบาล (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอุปนิสัย ของผู้บริหารการพยาบาลกับบรรยากาศของกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลชุมชน ภาคใต้ (4) ศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างอุปนิสัยของผู้บริหารการพยาบาลกับบรรยากาศของกลุ่มการพยาบาลรายด้าน กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานกับหัวหน้างานหรือหัวหน้าหอผู้ป่วย คนปัจจุบันตั้งแต่ 1 ปี ขึ้นไป จำนวน 406 คน จากโรงพยาบาลชุมชน ภาคใต้ จำนวน 66 แห่ง ได้จาก การสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นตามแนวคิด 7 อุปนิสัยของผู้ ทรงประสิทธิผลยิ่งของโควี และทฤษฎีบรรยากาศองค์การของลิทวินและสตริงเกอร์ แบบสอบถาม แบ่งเป็น 3 ส่วน ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามอุปนิสัยของผู้บริหารการ พยาบาลและแบบสอบถามบรรยากาศของกลุ่มการพยาบาล แบบสอบถามอุปนิสัยของผู้บริหาร การพยาบาลและบรรยากาศของกลุ่มการพยาบาลมีค่าดัชนึความตรงตามเนื้อหา 0.82 และ 0.84 ตามลำดับและมีค่าความเที่ยง 0.98 และ 0.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยคำนวฌค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเที่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) อุปนิสัยของผู้บริหารการพยาบาลโดยรวมมีประสิทธิผลอยู่ใน ระดับสูง (ค่าเฉลี่ย 3.80 ส่วนเที่ยงเบนมาตรฐาน 0.62) (2) บรรยากาศของกลุ่มการพยาบาลโดย รวมอยู่ในระดับดี (ค่าเฉลี่ย 3.59 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.51) (3) อุปนิสัยของผู้บริหารการ พยาบาลมีความสัมพันธ์ทางบวกกับบรรยากาศของกลุ่มการพยาบาลในระดับสูง ( r = .65) อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (4) อุปนิสัยของผู้บริหารการพยาบาลมีความสัมพันธ์กับบรรยากาศ ของกลุ่มการพยาบาลด้านความเสี่ยงและการยอมรับความเสี่ยงมากที่สุด (r = 0.59) รองลงมาได้แก่ ด้านมาตรฐานของผลการปฏิบัติงานและความคาดหมาย (R = 0.59) ส่วนด้านที่มีความสัมพันธ์ ตํ่าสุด คือ ด้านโครงสร้างองค์การและข้อจำกัด (r = 0.45)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการพยาบาล -- การบริหารth_TH
dc.subjectผู้นำth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษาth_TH
dc.subjectผู้บริหารการพยาบาลth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างอุปนิสัยของผู้บริหารการพยาบาลกับบรรยากาศของกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลชุมชน ภาคใต้th_TH
dc.title.alternativeThe relationship between habits of nurses administrators and nursing department climate in community hospitals, southern regionth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this descriptive study were to determine (1) the level of nurse administrator s habits according to the perception of the staff nurses. (2) the level of nursing department climate. (3) the relationship between nurse administrator’s habits and nursing department climate in community hospitals, southern region, and (4) the relationship between nurse administrator's habits and nursing department climate for each dimension. Stratified random sampling technique was used for selecting 406 subjects from all staff nurses in 66 southern community hospitals. The research tool used for collecting the data was questionnaire developed by the researcher from 7 habits of highly effectiveness people concept (Covey 1989) and organization climate concept (Litwin and Stringer 1968). The questionnaire was separated into 3 parts: personal data record from, head nurse’s habits and nursing department climate. The second and third part of the questionnaire were test for content validity, their CVI were 0.82 and 0.84 respectively where as the internal consistency coefficient alpha were 0.98 and 0.96 respectively. Data were analyzed by frequency, percent, mean, standard derivation, and Pearson Product Moment Correlation coefficient. The results of this study illustrated that (1) the mean score of nurse administrator ร habits were rated at the high level (X =3.81. S.D. = 0.62). (2) the mean score of nursing department climate was expressed at the high level ( X - 3.59. S.D. = 0.51), (3) there was significantly positive at a high level of the relationship (r = .652) between nurse administrator ร habits and nursing department climate in community hospitals, southern region (p < .001) and (4) nurse administrator ร habits were related to nursing department climate in the dimension of risk and risk taking (r = 0.598) and performance standards and expectation (r - 0.595) more than others dimension. The relationship between nurse administrator ร habits with the dimension of structure and constraint was lowest (r = 0.454).en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib108711.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.11 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons