Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1744
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สินีนุช ครุฑเมือง แสนเสริม, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | ภรณี ต่างวิวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | จรัล เข็มพล, 2527- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-10-18T02:08:56Z | - |
dc.date.available | 2022-10-18T02:08:56Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1744 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร 2) ความรู้เกี่ยวกับเชื้อราไตรโคเดอร์มาของเกษตรกร 3) การปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาของเกษตรกร 4) ปัญหาและข้อเสนอแนะต่อการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาของเกษตรกร ผลการวิจัยพบว่า (1) เกษตรกรมีอายุเฉลี่ย 49.71 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษา มีประสบการณ์การปลูกข้าว เฉลี่ย 28.75 ปี จานวนสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นแรงงานปลูกข้าว เฉลี่ย 2.18 คน เกษตรกรมีการติดต่อกับเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรในเรื่องการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาในนาข้าวโดยวิธีการฝึกอบรม การได้รับข่าวสาร ความรู้เกี่ยวกับเชื้อราไตรโคเดอร์มาภาพรวมอยู่ในระดับน้อย พื้นที่ปลูกข้าวเฉลี่ย 32.15 ไร่ ต้นทุนการผลิตข้าวเฉลี่ย 3,483.77 บาทต่อไร่ (2) เกษตรกรมีความรู้มากที่สุดในเรื่อง อัตราการหุงข้าวเพื่อผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์ชนิดสด คือ ข้าว 3 ส่วน น้า 2 ส่วน ส่วนเรื่องที่มีความรู้น้อยที่สุด คือ หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีในกลุ่มเบนโนมิล และคาร์เบนดาซิม ในช่วง 7 วัน ก่อนหรือหลังการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา (3) เกษตรกรมีการปฏิบัติเป็นประจาในขั้นตอนการผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์มาชนิดสด และมีการปฏิบัตินานๆ ครั้ง ในขั้นตอนการใช้และการเก็บรักษาเชื้อราไตรโคเดอร์มาชนิดสด (4) เกษตรกรมีปัญหาเกี่ยวกับการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาในนาข้าวในระดับมาก 4 ประเด็น ได้แก่ ขาดแหล่งซื้อหัวเชื้อราไตรโคเดอร์มา ระยะเวลาในการผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์มา อายุการเก็บรักษาเชื้อราไตรโคเดอร์มา และความเคยชินในการใช้สารเคมี เกษตรกรมีข้อเสนอแนะให้มีการผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์มาในรูปแบบสาเร็จรูปพร้อมใช้งานสามารถ เก็บรักษาได้นานขึ้น และสนับสนุนหัวเชื้อราไตรโคเดอร์มาอย่างต่อเนื่อง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.182 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | เชื้อรา--การใช้ประโยชน์ | th_TH |
dc.subject | เชื้อราในการเกษตร | th_TH |
dc.subject | ข้าว--โรคและศัตรูพืช--การป้องกันและควบคุม | th_TH |
dc.subject | สารชีวภาพควบคุมศัตรูพืช | th_TH |
dc.subject | เกษตรกร--ไทย--สุโขทัย | th_TH |
dc.title | การใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาในนาข้าวของเกษตรกรในจังหวัดสุโขทัย | th_TH |
dc.title.alternative | Utilization of Trichoderma spp. in rice paddy of farmers in Sukhothai Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2016.182 | - |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
159160.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.48 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License