Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1755
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพงศ์พันธุ์ เธียรหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorกฤษณา รุ่งโรจน์วณิชย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิรัล มกคล้าย, 2507--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-18T03:34:15Z-
dc.date.available2022-10-18T03:34:15Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1755-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยอัตราที่เหมาะสมของปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงร่วมกับปุ๋ยเคมีในการผลิตข้าวโพดฝักอ่อน จังหวัดราชบุรีครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ผลผลิตของข้าวโพดฝักอ่อนที่ตอบสนองต่ออัตราการใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงร่วมกับปุ๋ยเคมี และ 2) ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของการปลูกข้าวโพดฝักอ่อน ผลการวิจัยหลังการทดลอง พบว่า 1) ทุกตารับทดลองคุณสมบัติของดิน มีค่าความเป็นกรดด่าง ปริมาณอินทรียวัตถุ ธาตุโพแทสเซียม ธาตุแคลเซียมเพิ่มขึ้น สาหรับปริมาณธาตุฟอสฟอรัส และธาตุแมกนีเซียมลดลง ค่าการนาไฟฟ้าคงที่ การเจริญเติบโตของข้าวโพดฝักอ่อนที่ปลูกโดยใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงในอัตราต่างกันมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระยะต้นข้าวโพดฝักอ่อนอายุ 15 วัน การใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน มีผลให้ต้นข้าวโพดมีความสูงมากที่สุด 23.06 เซนติเมตร การใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา 150 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมีครึ่งหนึ่ง มีผลให้ต้นข้าวโพดอายุ 30 วัน มีความสูงมากที่สุด 71.25 เซนติเมตร และที่ระยะต้นข้าวโพดอายุ 45 วัน การใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา 250 กิโลกรัมต่อไร่ร่วมกับปุ๋ยเคมีครึ่งหนึ่ง ต้นข้าวโพดมีความสูงมากที่สุด 160.10 เซนติเมตร การใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินให้จานวนฝักสดต่อไร่มากที่สุด 41,200 ฝักต่อไร่ และมีน้าหนักฝักสดทั้งเปลือกต่อไร่มากที่สุด 2,831.30 กิโลกรัมต่อไร่ การใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงในอัตราต่างกันให้จานวนฝักสดต่อไร่และน้าหนักฝักสดข้าวโพดฝักอ่อนทั้งเปลือกต่อไร่ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ สาหรับน้าหนักต้นสดต่อไร่ของข้าวโพดฝักอ่อน พบว่าการใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงในอัตราต่างกันไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ และการใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินให้น้าหนักต้นสดต่อไร่มากที่สุด 3,466.67 กิโลกรัมต่อไร่ 2) การวิเคราะห์ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ พบว่าการใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจสูงสุด 5,981 บาทต่อไร่ รองลงมาได้แก่ การใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา 150 กิโลกรัมต่อไร่ร่วมกับปุ๋ยเคมีครึ่งหนึ่ง และการไม่ใส่ปุ๋ยให้ผลตอบแทนเท่ากับ 3,492 และ 3,485 บาท ตามลาดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.2-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectข้าวโพดฝักอ่อน--ปุ๋ยth_TH
dc.subjectข้าวโพดฝักอ่อน--การผลิตth_TH
dc.titleอัตราที่เหมาะสมของปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงร่วมกับปุ๋ยเคมีในการผลิตข้าวโพดฝักอ่อน จังหวัดราชบุรีth_TH
dc.title.alternativeOptimum rate of high quality organic fertilizer used with chemical fertilizer for baby corn production in Ratchaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.2th_TH
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
138376.pdfเอกสารฉลบับเต็ม7.76 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons