Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1756
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชัยวัฒน์ คงสม, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | ดุสิต เวชกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | วรินทร นาสมใจ, 2524- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-10-18T03:41:22Z | - |
dc.date.available | 2022-10-18T03:41:22Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1756 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะทางประชากรของผู้ใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะป่าโคกหนองข่า 2) ศึกษาสภาพการใช้ประโยชน์และการบริหารจัดการพื้นที่สาธารณะป่าโคกหนองข่า 3) ศึกษาปัญหาการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะป่าโคกหนองข่า และ 4) ศึกษาแนวทางในการบริหารจัดการพื้นที่สาธารณะป่าโคกหนองข่าอย่างมีส่วนร่วม ผลการศึกษา พบว่า ลักษณะทางประชากรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (63.70%) มีอายุอยู่ในช่วง 41 - 50 ปี (26.20%) ส่วนใหญ่จบระดับประถมศึกษา (53.50%) ประกอบอาชีพทานา (71.10%) มีรายได้ต่ากว่า 5,000 บาทต่อเดือน (53.5%) ส่วนใหญ่ใช้ประโยชน์เพื่อการบริโภคในครัวเรือนและเป็นรายได้เสริม กิจกรรมที่เข้าใช้ประโยชน์ตลอดทั้งปี คือ การเพาะปลูก และเลี้ยงสัตว์ การบริหารจัดการยังขาดการวางแผนการใช้ประโยชน์โดยชุมชน ขาดการกาหนดมาตรการด้านการอนุรักษ์ ระเบียบ และข้อตกลงในการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ การจับจองพื้นที่เพื่อทาการเกษตร การเลี้ยงสัตว์มากเกินไป และความขัดแย้งของคนในชุมชนเป็นปัญหาที่พบเป็นส่วนใหญ่ แนวทางการบริหารจัดการหลัก ๆ คือ (1) จัดตั้งและกาหนดโครงสร้างองค์กรขึ้นมาบริหารจัดการพื้นที่สาธารณะป่าโคกหนองข่า (2) ให้คณะกรรมการที่ได้รับการคัดเลือกเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่เพื่อใช้สาหรับการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ (3) การดาเนินงานและกิจกรรมการบริหารจัดการพื้นที่สาธารณะป่าโคกหนองข่าจะต้องให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วม และ(4) กาหนดกฎระเบียบต่าง ๆ ในการจัดการ และใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะป่าโคกหนองข่า เพื่อเป็นแนวทางสาหรับปฏิบัติร่วมกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.1 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ป่าชุมชน--ไทย--มหาสารคาม--การจัดการ. | th_TH |
dc.title | แนวทางการบริหารจัดการพื้นที่สาธารณะป่าโคกหนองข่า อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม | th_TH |
dc.title.alternative | Management approach of Khok Nong Kha Forest public land in Mueang District of Mahasarakram Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2013.1 | - |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
138377.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License