Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1758
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพูลสุข หิงคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุภมาส อังศุโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอารยา พงษ์พานิช, 2500--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-18T03:51:58Z-
dc.date.available2022-10-18T03:51:58Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1758-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1 ) ศึกษาสถานการณ์การบริหารการพยาบาลโดยใช้หลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของผู้บริหารระดับต้นทางการพยาบาล (2 ) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ประสบการณ์การปฏิบัติงาน เทคโนโลยีสารสนเทศ กับ การบริหารการพยาบาลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของผู้บริหารระดับต้นทางการพยาบาล และ (3 เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริหารการพยาบาลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของผู้บริหารระดับต้นทางการพยาบาล โรงพยาบาลสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประชากรคือพยาบาลปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้บริหารระดับต้นทางการพยาบาล โรงพยาบาลสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จำนวน 126 คน เครืองมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามประกอบไปด้วยแบบสอบถาม ปัจจัยส่วนบุคคล ประสบการณ์การปฏิบัติงาน เทคโนโลยีสารสนเทส และการบริหารการพยาบาลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงและความเที่ยงของแบบสอบถาม โดยมีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ของแบบสอบถามการบริหารการพยาบโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เท่ากับ 0.98 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปหา ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และวิเคราะห์การถอถอยพหุคูณแบบขั้นต้น ผลการวิจัยพบว่า (1 ) การบริหารการพยาบาลโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงพยาบาลสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ อยู่ในระดับมาก ส่วนการบริหารการพยาบาลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในรายคุณลักษณะ พบว่ามีการบริหารด้วยคุณลักษณะของความมีคุณธรรม มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าคุณลักษณะด้านอื่นๆ (2 ) ปัจจัยด้านการปฏิบัติงาน คือการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการบริหารการพยาบาลตามหลักปัรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ 0.1 ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ส่วนปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านประสบการณ์ ไม่มีความสัมพันธ์กับการบริหารการพยาบาลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (3 ) ปัจจัยที่มีอิทธิพลสามารถพยากรณ์ การบริหารการพยาบาลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือปัจจัยเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยสามารถพยากรณ์ การบริหารการพยาบาลโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงพยาบาลสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ได้ร้อยละ 3.3th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการพยาบาล -- การบริหารth_TH
dc.subjectเศรษฐกิจพอเพียงth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริหารการพยาบาลตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติth_TH
dc.title.alternativeFactors influencing nursing administration based on the philosophy of sufficiency economy at hospitals under the Royal Thai Policeth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were: (1) to investigate nursing administration based on the philosophy of sufficiency economy at hospitals under the Royal Thai Police, (2) to study relationships between three factors (personal factors, working experience factors, and information technology for communication) and nursing administration based on the philosophy of sufficiency economy , and (3) to explore the factors influencing nursing administration based on the philosophy of sufficiency economy. The population of this research consisted of 126 head nurses who worked at hospitals under the Royal Thai Police. Questionnaires were used as research tools and consisted of two sections: demographic data and nursing administration based on the philosophy of sufficiency economy. These questionnaires were tested for validity and reliability. The Cronbach’s alpha reliability coefficient of the second part was 0.98. Research data were analyzed by both descriptive statistics (percentage, mean, and standard deviation), Pearson product-moment correlation coefficient, and stepwise multiple regression. The research findings were as follows. (1) Head nurses rated their nursing administration based on the philosophy of sufficiency economy at hospitals under the Royal Thai Police at the high level. They rated using moral considerations for management higher than others. (2) There was a statistically significant positive correlation between using information technology for communication (one of the supporting factors) and nursing administration based on the philosophy of sufficiency economy (r = 0.18 p< 0.05). Finally, (3) this factor could predict nursing administration based on the philosophy of sufficiency economy 3.3 %.en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib108789.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.01 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons