Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1763
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินดา ขลิบทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorกฤษณา รุ่งโรจน์วณิชย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอนันต์ บุพศิริ, 2522--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-18T06:27:18Z-
dc.date.available2022-10-18T06:27:18Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1763-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรผู้ทำนา อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว 2) ความรู้ และความเข้าใจเกี่ยวกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของเกษตรกร 3) การเตรียมความพร้อมการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของเกษตรกร 4) ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะในการเตรียมความพร้อมการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ผลการวิจัย พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 48.72 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษา เกษตรกรมีประสบการณ์ในการทานาเฉลี่ย 32.46 ปี เกษตรกรมีพื้นที่ในการทำนาเฉลี่ย 14.09 ไร่ มีลักษณะการถือครองเป็นของตนเอง เกษตรกรมีแรงงาน เฉลี่ย 3.74 คน ประกอบอาชีพการเกษตรเป็นหลัก มีอาชีพรอง คือ รับจ้าง เกษตรกรมีรายได้รวมเฉลี่ย 215,614.59 บาท/ปี รายได้จากการทำนาเฉลี่ยอยู่ที่ 135,265.77 บาท ใช้แหล่งเงินทุนจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ เป็นลูกค้าของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ ส่วนใหญ่รับรู้ข้อมูลข่าวสารจากเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร ระดับความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เกษตรกรมีความรู้ในเรื่อง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนมีผลบังคับใช้ในปี 2558 เกษตรกรทุกคนมีการปฏิบัติในการพลิกหน้าดินของนาข้าวเพื่อป้องกันกาจัดโรคและแมลง การเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มีการพัฒนาความรู้ในการผลิตข้าวอินทรีย์ /หลัก GAP โดยมีข้อเสนอแนะ 1) ข้อมูลได้จากงานวิจัยสามารถใช้ในการวางแผนส่งเสริมเกษตรกรเพื่อใช้ในการลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิตข้าว เป็นการสร้างความพร้อมในการปรับตัวทางด้านการผลิตข้าวเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 2) นาข้อมูลที่ได้เพื่อเป็นแนวทางในการปรับเปลี่ยนแผนการฝึกอบรมเกี่ยวกับการผลิตข้าวให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และฤดูกาลเพาะปลูกเพื่อให้การผลิตข้าวให้มีคุณภาพต่อการรับรองการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 3) ควรมีการกาหนดราคาข้าวทั่วไปให้มีความแตกต่างกับข้าวอินทรีย์หรือข้าว GAP เพื่อให้เกษตรกรมีแรงจูงใจในการผลิตข้าวอินทรีย์หรือข้าว GAP 4) ควรส่งเสริมให้เกษตรกรสร้างการรวมกลุ่มให้เข้มแข็ง เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู้ประชาคมอาเซียน 5) ส่งเสริมให้มีการเพิ่มมูลค่าข้าว ขยายตลาดและเพิ่มช่องทางจำหน่ายข้าวให้เกษตรกรth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.306-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสมาคมอาเซียนth_TH
dc.subjectเกษตรกร--แง่เศรษฐกิจ--ไทย--สระแก้วth_TH
dc.titleการเตรียมความพร้อมการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของเกษตรกรผู้ทำนาในอำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้วth_TH
dc.title.alternativePreparation of ASEAN community readiness by rice farmers in Aranyaprathet District of Sa Kaeo Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.306-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
139970.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.92 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons