Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1771
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ลัดดา พิศาลบุตร, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | สรชัย พิศาลบุตร, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ฎีการัตน์ สมเจตน์, 2500- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-10-18T07:32:04Z | - |
dc.date.available | 2022-10-18T07:32:04Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1771 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาวะเนื้อที่กรีดยางได้ ผลผลิต และราคาของยางพารา 2) วิเคราะห์แนวโน้มของเนื้อที่กรีดยางได้ ผลผลิตและราคาของยางพารา 3) วิเคราะห์ดัชนีฤดูกาลของผลผลิตและราคาของยางพารา 4) เปรียบเทียบแนวโน้มและดัชนีฤดูกาลของยางพาราในภูมิภาคต่าง ๆ 5) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อที่กรีดยางได้ ผลผลิตกับราคาของยางพารา 6) พยากรณ์เนื้อที่กรีดยางได้ ผลผลิตและราคาของยางพาราระหว่างปี พ.ศ. 2556–2560 ผลการวิจัยพบว่า 1) เนื้อที่กรีดยางได้ ผลผลิต และราคายางพาราของภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือเพิ่มขึ้น แต่ปริมาณผลผลิตยางพาราของภาคใต้กลับลดลงเล็กน้อย 2) แนวโน้มเนื้อที่กรีดยางได้ พยากรณ์โดยใช้สมการกาลังสามทุกภาค ผลผลิตยางพาราพยากรณ์ได้โดยใช้สมการเอ็กโปเนนเชียลทุกภาค และราคายางพาราของภาคใต้และภาคกลางพยากรณ์ได้ โดยใช้สมการกาลังสอง ส่วนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือพยากรณ์ได้โดยใช้สมการกาลังสามและสมการเส้นตรง 3) ดัชนีฤดูกาลรายเดือนของผลผลิตและราคาของยางพาราของทั้ง 3 ภาค แตกต่างกัน 4) แนวโน้มเนื้อที่กรีดยางได้ ปริมาณผลผลิตและราคายางพาราของภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือเพิ่มขึ้น แต่แนวโน้มปริมาณผลผลิตยางพาราของภาคใต้กลับลดลงเล็กน้อย 5) ราคายางพารามีความสัมพันธ์กับเนื้อที่กรีดยางได้และผลผลิตยางพารา และ 6) ค่าพยากรณ์เนื้อที่กรีดยางได้ ปริมาณผลผลิต และราคายางพารา ระหว่าง ปี พ.ศ. 2556 – 2560 เพิ่มขึ้นในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แต่ปริมาณผลผลิตของยางพาราของภาคใต้กลับลดลงเล็กน้อย | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.300 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ยางพารา--ไทย | th_TH |
dc.title | การวิเคราะห์แนวโน้มและดัชนีฤดูกาลของยางพาราในภาคใต้ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไท | th_TH |
dc.title.alternative | An analysis of trend and seasonal index of Para Rubber in Southern, Central and Northeastern Regions of Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2013.300 | - |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
140335.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 17.21 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License