Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1772
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พูลสุข หิงคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | สุภมาส อังศุโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ปราโมทย์ หฤรักษ์, 2507- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-10-18T07:33:21Z | - |
dc.date.available | 2022-10-18T07:33:21Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1772 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมการบริหารในการพัฒนาความก้าวหน้าใน วิชาชีพพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วย (2) ศึกษาความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ของพยาบาลวิชาชีพ (3) ศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริหารในการพัฒนาความก้าวหน้าในวิชาชีพพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วย กับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไปเขต 15 และ 17 กระทรวงสาธารณสุข กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานกับหัวหน้าหอผู้ป่วยคนปัจจุบันเป็นเวลา 1 ปี จำนวน 281 คน ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม ประกอบด้วย แบบสอบถามพฤติกรรมการบริหารในการพัฒนาความก้าวหน้าในวิชาชีพพยาบาลของหัวหน้าหอ ผู้ป่วยและแบบสอบถามความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพ ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงและความเที่ยงของแบบสอบถาม แบบสอบถามมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.96 และ 0.91 ตามลำดับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานและหาค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) พฤติกรรมการบริหารในการพัฒนาความก้าวหน้าในวิชาชีพพยาบาลของ หัวหน้าหอผู้ป่วยมี ค่าคะแนนเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.82 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.60 ) (2) ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพ โดยรวมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.69 ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน 0.46) (3) พฤติกรรมการบริหารในการพัฒนาความกัาวหน้าในวิชาชีพพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วย มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพ อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และมีค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์เท่ากับ 0.69 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การพยาบาล -- การบริหาร | th_TH |
dc.subject | พยาบาลวิชาชีพ -- ความพอใจในการทำงาน | th_TH |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริหารเพื่อพัฒนาความก้าวหน้าในวิชาชีพพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วย กับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไปเขต 15 และเขต 14 กระทรวงสาธารณสุข | th_TH |
dc.title.alternative | The relationship between administrative behaviors for nursing career development of head nurses and job satisfaction of professional nurses at tertiary and secondary hospitals in regions 15 and 17 under the Ministry of Public Health | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were : <1 )to study administrative behaviors for nursing career development of head nurses, (2) to investigate job satisfaction of professional nurses, and (3) to study the relationship between administrative behaviors for nursing career development of head nurses and job satisfaction of professional nurses at tertiary and secondary hospitals in Regions 15 and 17 under the Ministry of Public Health. The sample included 281 professional nurses who had working experience with their present head nurses for at least 1 year. They were selected by Stratified sampling. Questionnaires were used as research tools to collect data and consisted of two parts: administrative behaviors for nursing career development and job satisfaction. They were tested for reliability and validity. The Alpha reliability coefficients of the first and the second parts were .96 and .91 respectively. The statistical devices used for data analysis were both descriptive statistics (frequency, mean scores, percentile, and standard deviation) and Pearson’ ร Correlation Coefficient. The findings were as follows. (1) Professional nurses rated administrative behaviors for nursing career development of their head nurses at the high level (2) Professional nurses rated their satisfaction on their jobs at the high level. Finally, (3) there was a statistically significant positive relationship between administrative behaviors for nursing career development of head nurses and job satisfaction of professional nurses (p< 0.01, r = 0.69) | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib108792.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.34 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License