Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1775
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อารี ชีวเกษมสุข | th_TH |
dc.contributor.author | ถวิล ซำคง, 2506- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-10-18T07:58:22Z | - |
dc.date.available | 2022-10-18T07:58:22Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1775 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับคุณภาพชีวิต การทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข (2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล การบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมในงานกับคุณภาพชีวิตการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย และ (3) ตัวแปรพยากรณ์ที่ร่วมกันทำนายคุณภาพชีวิตการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 295 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามประกอบด้วย 4 ส่วน คือ ข้อมูลส่วนบุคคล การบริหารจัดการ การมีส่วนร่วมในงาน และคุณภาพชีวิตการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนี้อหาและวิเคราะห์หาความเที่ยงได้เท่ากับ .87, .95 และ .95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาความถี่ ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคสแควร์ ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์เพียธ์สันและวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรเป็นขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า (1) คุณภาพชีวิตการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโดยภาพรวมอยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย = 3.88, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.44) (2) รายได้ และประสบการณ์การทำงาน ในตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วย การบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมในงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) ตัวแปรพยากรณ์ร่วมกันทำนายคุณภาพชีวิตการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ตามลำดับดังนี้ การบริหารจัดการ การมีส่วนร่วมในงาน โดยร่วมกันพยากรณ์ได้ร้อยละ 42 (R2 = .42) ได้สมการไนรูปคะแนนดิบดังนี้ คุณภาพชีวิตการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย =.256 + .453 การบริหารจัดการ+ .394 การมีส่วนร่วมในงาน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | พยาบาล--ความพอใจในการทำงาน | th_TH |
dc.subject | คุณภาพชีวิตการทำงาน | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting the quality of work life of head nurses at general hospitals under the jurisdiction of the Ministry of Public Health | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this descriptive study were: < 1) to investigate the level of quality of work life head nurses at general hospitals under the jurisdiction of the Ministry of Public Health, (2) to study the relationship between personal factors, management job involvement, and quality of work life of head nurses, and (3) to identify the predictor variables of the quality of work life of head nurses. The sample comprised 295 head nurses who worked at general hospitals under the jurisdiction of the Ministry of Public Health. They were selected by stratified random sampling. Questionnaires were used as research tools and comprised four sections: demographic data, management, job involvement and the quality of work life of head nurses. The questionnaires were tested for validity and reliability. The reliability of the second, the third, and the fourth sections were .87, .95, and .95 respectively. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, Chi-square test, Pearson’s product moment correlation, and stepwise multiple regression. The major findings were as follows: (1) Head nurses rated the quality of work life at the high level (x= 3.88, S.D. = 0.44). (2)There were significantly positive relationships between (a) head nurses’ salary and experience, (b) management, and (c) job involvement and head nurses’ quality of work life at .05 level. (3) Management and job involvement predicted the quality of work life of head nurses. These predictors accounted for 42 % (R2 =.42). The predictive equation was constructed below. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ศรีนวล สถิตวิทยานันท์ | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | สมถวิล วิจิตรวรรณา | th_TH |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib108793.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.96 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License