Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1805
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีนวล สถิตวิทยานันท์, 2495- อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorบุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอมรรัตน์ ภิญโญอนันตพงษ์, 2497- อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพัทธนันท์ พูลละเอียด, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-20T06:40:17Z-
dc.date.available2022-10-20T06:40:17Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1805-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) บุคลิกภาพ การเสริมสร้างพลังอำนาจ และระดับความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลวิชาชีพ (2) ความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัย ด้านบุคลิกภาพ และ การเสริมสร้างพลังอำนาจ กับ ความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลวิชาชีพ และ (3) ตัวแปรที่ร่วมกันพยากรณ์ ความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลวิชาชีพ กลุ่มตัวอย่างคือพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขต 6 จำนวน 319 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามบุคลิกภาพ สร้างขึ้นโดย วรรณฤดี เชาว์ศรีจุล การเสริมสร้างพลัง อำนาจ สร้างขึ้นโดยผู้วิจัย และความเข้มแข็งในการมองโลก สร้างขึ้นโดย พัชราพร แจ่มแข็ง ผ่านการ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญ และหาความเที่ยงได้เท่ากับ 0.91, 0.96 และ 0.82 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า (1) อายุ และประสบการณ์ของพยาบาลวิชาชีพ มีค่าเฉลี่ย 35.72 และ 11.35 ตามลำดับ บุคลิกภาพ การได้รับการเสริมสร้างพลังอำนาจ และระดับความเข้มแข็งในการมองโลกโดย รวมอยู่ในระดับสูง (X - 3.58, 3.65 และ 3.73 ตามลำดับ) (2) อายุ และประสบการณ์ ไม่มีความสัมพันธ์ กับความเข้มแข็งในการมองโลก ส่วนบุคลิกภาพเปิดเผย บุคลิกภาพประนีประนอม บุคลิกภาพควบคุม ตนเอง บุคลิกภาพอารมณ์มั่นคง และบุคลิกภาพเปิดรับประสบการณ์ มีความสัมพันธ์ทางบวก ระดับปาน กลางกับความเข้มแข็งในการมองโลก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (r = 0.330,0.306, 0.409, 0.372 และ 0.486 ตามลำดับ) (3) การได้รับการเสริมสร้างพลังอำนาจด้านการได้รับทรัพยากร การได้รับการ สนับสนุน การได้รับข้อมูลข่าวสาร และการได้รับโอกาส มีความสัมพันธ์ทางบวก ระดับปานกลางกับ ความเข้มแข็งในการมองโลก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (r = 0.406, 0.472, 0.373 และ 0.474 ตามลำดับ) (4) บุคลิกภาพเปิดรับประสบการณ์ การได้รับโอกาส บุคลิกภาพอารมณ์มั่นคง และการได้รับ ทรัพยากร สามารถพยากรณ์ความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลวิชาชีพ ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.01 ได้ร้อยละ 42.4 (R2 = 0.424)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพยาบาล -- ทัศนคติth_TH
dc.subjectการจูงใจ (จิตวิทยา)th_TH
dc.subjectการทำงาน -- แง่จิตวิทยาth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเข้มแข็งในการมองโลกของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขต 6th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting sense of coherence of professional nurses in general hospitals, the Ministry of Public Health, Region 6th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study the Personality, empowerment, and sense of coherence of professional nurse (2) to study the relationships between personal factors, personality, empowerment and sense of coherence; (3) to identify predictors of sense of coherence of professional nurses เท the general hospitals of region 6 ministry of public health. Studied samples were three hundred and nineteen professional nurses from general hospitals of region 6 ministry of public health Instrument used in this study were developed by Mrs. Wannanicdcc Chouwsrikul, Miss Phatcharapom Jamjang, and the researcher were personality, sense of coherence, personal factors, empowerment questionaires. These questionaires were test for the content validity by nursing ex pens and tests for reliability of personality, empowerment, and sense of coherence were 0.9110.96, and 0.82 , respectively. Data were analyzed by using percentage, mean, standard deviation, Pearson's product moment correlation and Stepwise multiple regression. Major findings were: (I) The mean age and working experience of professional nurses were 35.72 years old and 11.35 years respectively. Mean score of sense of coherence of professional nurses was at a high level, (X - 3.73) The mean scores of Personality, and empowerment were at high level. ( X “ 3.58,0.65) (2) Age and working experience were not related to sense of coherence while personality, and empowerment, were positively and significant related to sense of coherence, extraversion, agreeableness, conscientiousness, emotion stability, and openness to experience personality and sense of coherence of professional nurses were moderately positive correlated, (r =0.330,0.306, 0 409,0 372, and 0.486 p <0.01) (3) Empowerment: resource, support, information, and opportunity and sense of coherence of professional nurses were moderately positive correlated correlated, (r =0.406,0.472.0.373, and 0.474, p <0.01) (4) openness to experience, opportunity. emotion stability, and resource were predictors of sense of coherence. The regression result indicated that arc 42.4 % of sense of coherence of professional nurses was explained by openness to experience, opportunity, emotion stability, and resource (R2 - 0.424, p<0.0l)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib108881.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.76 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons