Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1810
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สัจจา บรรจงศิริ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | พงศ์พันธุ์ เธียรหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | พรทิวา คล้ายเดช, 2527- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-10-20T07:22:18Z | - |
dc.date.available | 2022-10-20T07:22:18Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1810 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 | th_TH |
dc.description.abstract | การศึกษาการเปรียบเทียบผลของการใช้ปุ๋ยสูตรต่างๆ เพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ทำการศึกษา ณ บ้านมะเกลือเก่าพัฒนา ต. มะเกลือเก่า อ. สูงเนิน จ. นครราชสีมา ระหว่างเดือน มิถุนายน – ตุลาคม 2556 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ผลของปุ๋ยที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงสมบัติบางประการของดิน 2) ผลของปุ๋ยสูตรต่างๆ ที่มีต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และ3) ต้นทุนและผลตอบแทนทางเศรษฐกิจในการใช้ปุ๋ยต่อการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ผลการทดลองพบว่า 1) การใส่ปุ๋ยสูตรต่างๆ มีผลทาให้ค่าความแข็งของดิน ความชื้นของดินที่ 30 วัน และปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ในดินแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ 2) ทุกตารับการทดลองที่มีการใส่ปุ๋ย ส่งผลให้จำนวนฝักหรอและผลผลิตแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อเทียบกับแปลงควบคุม แต่ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติระหว่างตารับที่มีการใส่ปุ๋ย 3) ในด้านต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า ตำรับการทดลองที่ 5 การใช้ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน (เต็มอัตรา) มีต้นทุนและผลตอบแทนดีที่สุด (ระหว่างตำรับที่มีการใส่ปุ๋ย) อย่างไรก็ตามเกษตรกรควรวิเคราะห์ดินก่อนการปลูกพืชเพื่อช่วยในการเพิ่มผลผลิตร่วมกับการปรับปรุงบำรุงดิน เพื่อนาไปสู่การลดต้นทุนการผลิตต่อไป | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.302 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | อาหารสัตว์--การผลิต | th_TH |
dc.subject | ข้าวโพด--การผลิต | th_TH |
dc.title | การเปรียบเทียบผลของการใช้ปุ๋ยสูตรต่าง ๆ เพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ | th_TH |
dc.title.alternative | Comparison of theeffectiveness of different fertilizer formulation to increase maize yield | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2014.302 | - |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The study was a comparison of the effectiveness of different fertilizer formulation to increase the maize yield, conducted at Ban Makuea Kao Phattana, Ma Kluea Kao Sub-District, Sung Noen District, Nakhon Ratchasima Province during June to October, 2013. The objectives of this research were to study 1) the effects of fertilizer utilization to change some soil properties, 2) the effects of fertilizer utilization to growth and yield of maize, and 3) the cost and economic return of maize production. The results were showed that 1) all treatments had statistically significant effects on soil consistency, soil moisture at 30 days and exchangeable potassium. 2) All treatments with chemical and/or organic fertilizer produced significantly higher unsound ear and total yields compared with control, but there were no significant differences between the different fertilizer treatments. 3) For the cost and economic return, it was found that the treatment 5, using chemical fertilizer at the full rate recommendation based on soil analysis, gave the best cost and return. However, farmers should have soil analysis before growing maize to increase yield, improve the soil, and decrease the cost. | en_US |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
141032.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.74 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License