Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1816
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลัดดา พิศาลบุตร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพงศ์พันธุ์ เธียรหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสายัณห์ มหาแก้ว, 2489--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-21T02:19:30Z-
dc.date.available2022-10-21T02:19:30Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1816-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาวะเนื้อที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และราคาของอ้อย ในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2) วิเคราะห์แนวโน้มของเนื้อที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และราคาของอ้อย ในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3) วิเคราะห์ดัชนีฤดูกาลของผลผลิต และราคาของอ้อย ในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4) เปรียบเทียบแนวโน้มและดัชนีฤดูกาลของอ้อย ในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และราคาของอ้อย ในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 6) พยากรณ์เนื้อที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และราคาอ้อย ในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระหว่างปี พ.ศ. 2556-2560 ผลการวิจัยพบว่า 1) จากการศึกษาสภาวะเนื้อที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และราคาของอ้อยของภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือส่วนใหญ่เพิ่มขึ้น 2) แนวโน้มเนื้อที่เก็บเกี่ยวได้ ผลผลิต และราคาอ้อยของทั้ง 3 ภาคเพิ่มขึ้น 3) ดัชนีฤดูกาลของผลผลิตและราคาของอ้อย ของทั้ง 3 ภาคมีลักษณะการเคลื่อนไหวในรูปแบบเดียวกัน 4) แนวโน้มของผลผลิตและราคาอ้อยของทั้ง 3 ภาคเพิ่มขึ้น ส่วนดัชนีฤดูกาล มีการเคลื่อนไหวขึ้นลงในเวลาใกล้เคียงกัน 5) ราคาอ้อยมีความสัมพันธ์กับเนื้อที่เก็บเกี่ยวอ้อยและผลผลิตอ้อยทั้ง 3 ภาค 6) ค่าพยากรณ์เนื้อที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และราคาอ้อย ระหว่างปี พ.ศ. 2556-2557 เพิ่มขึ้นทั้ง 3 ภาคth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.185-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectอ้อย--ไทย--แง่เศรษฐกิจth_TH
dc.titleการวิเคราะห์แนวโน้มและดัชนีฤดูกาลของอ้อยในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeAn analysis of trend and seasonal index of sugar cane in the Northern, Central and Northeastern Parts of Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.185-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to 1) study harvested area, production and price of sugarcane, 2) analyze the trends on harvested area, production and price of sugarcane, 3) analyze seasonal index of production and price of sugarcane, 4) compare the trends and seasonal index of sugarcane, 5) analyze the relationship between harvested area, production and price of sugarcane, and 6) forecast harvested area, production and price of sugarcane in Northern, Central and Northeastern regions of Thailand during the years 2013 to 2017. This study was a documentary research from secondary data, consisting of the monthly and annual statistics dating back 6 to 10 years during the year of 2002 to 2012. The data were retrieved from the Office of Agricultural Economics and other related agencies. The statistics that were used in the data analysis included mean, standard deviation, coefficient of variation, Mean Absolute Percent Error, and time series analysis which was composed of trend and seasonal index analysis. The results showed that: 1) the situation of harvested area and price of sugarcane in Northern, Central and Northeastern regions of Thailand had increased. 2) The harvested area, production and price in the three regions tended to increase. 3) The seasonal index of production and price in the three regions had the same pattern. 4) The trends of harvested area, production and price of sugarcane in the three regions were increased, while the seasonal index of production and price had swinged up and down mostly at the same period. 5) The harvested area and price were related to the sugarcane production in these three regions. 6) The forecast for harvested area, production and price of sugarcane during the years 2013 to 2017 was to increase.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
141036.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.76 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons