Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1825
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีนวล สถิตวิทยานันท์, 2495- อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจินนะรัตน์ ศรีภัทรภิญโญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวรรณ์ดี แสงประทีปทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปริยาพร คล้ายบ้านใหม่, 2516--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-21T04:10:27Z-
dc.date.available2022-10-21T04:10:27Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1825-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาสมรรถนะที่พึงประสงค์ของหัวหน้าพยาบาล โรงพยาบาลชุมชน สังกัดกระทรวงสาธารณสุข วิธีการดำเนินการวิจัยโดยใช้เทคนิคเดลฟาย สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารการ พยาบาล และด้านบริหารโรงพยาบาล จำนวน 20 ท่าน เก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 3 รอบ รอบที่ 1 สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญโดยใช้แบบสัมภาษณ์ชนิดกึ่งโครงสร้าง นำข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์มา วิเคราะห์และสังเคราะห์จัดเป็นหมวดหมู่ สร้างเป็นแบบสอบถามชนิดมาตรประมาณค่า เพื่อให้ ผู้เชี่ยวชาญให้ความคิดเห็น รอบที่ 2 และ รอบที่ 3 ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการคำนวณหาค่ามัธยฐาน และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะของหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลชุมชน สังกัดกระทรวง สาธารณสุข ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน มีจำนวน 10 ด้าน คือ (1) สมรรถนะด้านภาวะ ผู้นำทางการพยาบาล โรงพยาบาลชุมชน (2) ด้านปฎบัติการ/งานที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้านการบริหารการ พยาบาลในโรงพยาบาลชุมชน (3) สมรรถนะด้านการบริหารและกำกับดูแลการบริหารการพยาบาลใน โรงพยาบาลชุมชน (4) สมรรถนะด้านการวางแผนการบริหารการพยาบาลในโรงพยาบาลชุมชน (5) สมรรถนะด้านการประสานงานและการติดต่อสื่อสาร (6) สมรรถนะด้านการจัดการทรัพยากร มนุษย์ในกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลชุมชน (7) สมรรถนะด้านการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล ในโรงพยาบาลชุมชน (8) สมรรถนะด้านการวิจัย นวัตกรรม และการจัดการความรู้ทางการพยาบาล ในโรงพยาบาลชุมชน (9) สมรรถนะด้านคุณธรรมและจริยธรรม (10) สมรรถนะด้านคุณลักษณะและ เชาว์อารมณ์ สมรรถนะ ทั้ง 10 ด้าน ประกอบด้วยสมรรถนะย่อย 76 ข้อ เป็นสมรรถนะที่มีความสำคัญ ระดับมากที่สุด 60 ข้อ และเป็นสมรรถนะที่มีความสำคัญระดับมาก 16 ข้อth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการพยาบาล -- การบริหารth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลชุมชน -- การบริหารth_TH
dc.subjectพยาบาลth_TH
dc.subjectสมรรถภาพในการทำงานth_TH
dc.subjectหัวหน้าพยาบาลth_TH
dc.titleสมรรถนะที่พึงประสงค์ของหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลชุมชน สังกัดกระทรวงสาธารณสุขth_TH
dc.title.alternativeDesirable competencies of nursing directors in community hospitals at the Ministry of Public Healthth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the competencies of nursing directors community hospitals the Ministry of Public Health. The Delphi technique was used for data collection. Twenty nurse administers, nurse educators and hospital directors were interviewed in 3 rounds by the researcher to collect data. First, semi- structured interviews were employed and data were analyzed by content analysis. Then the results were used to develop the rating scale questionnaires which were used for collecting data in the second and the third rounds. Finally, data were analyzed by median and interquartile range. The results of this study showed that competencies of nursing directors community hospitals the Ministry of Public Health comprised ten competencies in terms of (1) leadership, (2) nursing administration community hospitals, (3) nursing management and control, (4) planning, (5) coordination and communication, (6) human resource management, (7) nursing quality improvement, (8) nursing research, innovation, and knowledge management in community hospital, (9) ethics, and (10) attributes and emotional quotients. All of these competencies consisted of 76 sub-competencies. Experts rated 60 sub-competencies at the highest level and 16 sub-competencies at the high levelen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib109929.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.75 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons