Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1830
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมุกดา หนุ่ยศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพวงเพ็ญ ชุณหปราณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอารีย์ อุณหสุทธิยานนท์, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-25T02:05:45Z-
dc.date.available2022-10-25T02:05:45Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1830-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย การทำงานเป็นทีม และประสิทธิผลของหอผู้ป่วย (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของ หัวหน้าหอผู้ป่วย การทำงานเป็นทีมกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย และ (3) สร้างสมการพยากรณ์ประสิทธิผลของ หอผู้ป่วยจากภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย และการทำงานเป็นทีมในหอผู้ป่วย โรงพยาบาล ทั่วไป เขต 6 และ 7 กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปี ขึ้นไปในโรงพยาบาล ทั่วไป เขต 6 และ 7 จำนวน 377 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบแบ่งขึ้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยแบ่งเป็น 4 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ส่วนที่ 2 แบบสอบถามภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ส่วนที่ 3 แบบสอบถามการทำงานเป็นทีม และส่วนที่ 4 แบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย แบบสอบถามมี ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาของส่วนที่ 2 ถึง 4 เท่ากับ 0.85, 0.88 และ 0.87 ตามลำดับ ส่วนค่าความเที่ยงของ แบบสอบถามเท่ากับ 0.98,0.95 และ 0.95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐานค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ แบบเพิ่มตัวแปร เป็นขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า (1) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลทั่วไป เขต 6 และ 7 อยู่ในระดับสูง (X = 4. IO,S.D. = O.54) การทำงานเป็นทีมการพยาบาลอยู่ในระดับมาก ( X = 4.05,S.D. = 0.47) และประสิทธิผลของหอผู้ป่วยอยู่ในระดับสูง ( X = 4.12, S.D. = 0.41) (2) ภาวะผู้นำการ เปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลาง (r = 0.639) กับประสิทธิผลของหอ ผู้ป่วยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และการทำงานเป็นทีมการพยาบาล มีความสัมพันธ์ทางบวกใน ระดับสูง (r = 0.790) กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (3) การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย สามารถร่วมกันพยากรณ์ประสิทธิผลของหอผู้ป่วยได้ร้อยละ 69.6 (R2.696) และสามารถสร้างสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบได้ ดังนี้ ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย = 0.932+0.527 การทำงานเป็นทีม + 0.256 ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการบริหารการเปลี่ยนแปลงth_TH
dc.subjectการทำงานเป็นทีมth_TH
dc.subjectโรงพยาบาล -- การบริหารth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษาth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยการทำงานเป็นทีมกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไป เขต 6 และ 7th_TH
dc.title.alternativeThe relationship between transformational leadership of head nurses, teamworking and the effectiveness of patientnunits in General Hospitals of Region 6 and 7th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive study were: (I) to explore the level of transformational leadership of head nurses, teamworking and the effectiveness of patient units in General Hospitals of Region 6 and 7, (2) to investigate the relationship between transformational leadership of head nurses, teamworking and the effectiveness of patient units, (3) to construct predicted equation in the effectiveness of patient units from transformational leadership of head nurses and teamworking in patient unit in General Hospitals of Region 6 and 7. Stratified random sampling was used for selecting 377 subjects from all at least 1 year staff nurses of patient units in General Hospitals of Region 6 and 7. Research tool was questionnaires and comprised 4 sections: (1) personal data of the subjects 12) transformational leadership of head nurses (3) teamworking and (4) the effectiveness of patient units, fhc content validity index of part 2 to 4 were 0.85,0.88 แทะ 0.87 respectively; whereas the internal consistency Cronbach alpha coefficients were 0.98,0.95 and 0.95 respectively. Research data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson Product Moment Correlation Coefficient and Stepwise Multiple Regression Analysis. The results of this study illustrated that (I) the mean score of transformational leadership of head nurses, teamworking and the effectiveness of patient units were rated at the high level ( X = 4.10, S.D.=0.54; X = 4.05, S.D.=0.47; X = 4.12, S.D.=0.41 respectively), (2) the transformational leadership of head nurses and teamworking were significantly positively related to the effectiveness of patient units in General Hospitals of Region 6 and 7 (r = .639, pc.01; r = .790, p<.0l respectively). (3) the regression’s result indicated that the effectiveness of patient units was explained 69.6% (R?=.696) by transformational leadership of head nurses and teamworking. The predicting equation is constructed below: effectiveness of patient units = 0.932 +0.527 teamworking* 0.256 transformational leadership of head nursesen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib109934.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.6 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons