Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1856
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารี ชีวเกษมสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนุศรา วิจิตรแก้ว, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวิไล กุศลวิศิษฎ์กุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกมลรจน์ กุณราชา, 2517--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-26T08:26:36Z-
dc.date.available2022-10-26T08:26:36Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1856-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการบริหารงานแบบมีส่วนร่วม ของหัวหน้าหอผู้ป่วย (2) ศึกษาสภาพแวดล้อมในการทำงาน (3) ศึกษาระดับความพึงพอใจในงานของพยาบาล วิชาซีพ (4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานแบบมีส่วนร่วมของหัวหน้าหอผู้ป่วย สภาพแวดล้อมใน การทำงานกับความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาซีพ และ (5) ศึกษาตัวแปรที่ร่วมทำนายความพึงพอใจในงาน ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป เขต 3 กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป เขต 3 จำนวน 212 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบ มีระบบ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารงานแบบมีส่วนร่วม สภาพแวดล้อมใน การทำงานและความพึงพอใจในงาน ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนี้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ วิเคราะห์ค่า ความเที่ยงของแบบสอบถามได้เท่ากับ 0.89 0.90 และ 0.92 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอร่ไทล์สัมาประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเลือกตัวแปรเข้าและออกทีละขั้น ผลการวิจัยพบว่า (1) การบริหารงานแบบมีส่วนร่วมโดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับสูง (2) สภาพแวดล้อมในการทำงานโดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับสูง (3) ความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง (4) การบริหารงานแบบมีส่วนร่วมมีความสัมพันธ์ทางบวกในระด้บ ปานกลาง กับความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และสภาพแวดล้อม ในการทำงานมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูง กับความพึงหอใจในงานาเองพยาบาลวิชาชีพ อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.01 (5) สภาพแวดล้อมในการทำงานและการบริหารงานแบบมีส่วนร่วมสามารถร่วมกัน พยากรณ์ความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาซีพได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.01 โดยสามารถอธิบาย ความแปรปรวนของความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ ร้อยละ 55.7th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพยาบาล -- ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectสภาพแวดล้อมในการทำงานth_TH
dc.subjectการพยาบาล -- การบริหารth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานแบบมีส่วนร่วมของหัวหน้าหอผู้ป่วยสภาพแวดล้อมในการทำงานกับความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลทั่วไป เขต 3th_TH
dc.title.alternativeThe relationships between participative management of head nurses, working environment, and job satisfaction of professional nurses at general hospitals, Region 3th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive were: (1) to study participation management of head nurses; (2) to examine work environment; (3) to investigate level of job satisfaction of professional nurses; (4) to explore the relationships between participative management of head nurses, work environment, and job satisfaction of professional nurses; and (5) to identify the predictors of job satisfaction of professional nurses in general hospitals in Region 3. The sample comprised 212 professional nurses who worked at general hospitals in Region 3. They were selected by systematic sampling. Questionnaires were used as research tools including participative management style, work environment, and job satisfaction. The questionnaires were tested for validity and reliability. The reliabilities of the first to the third sections were 0.89, 0.90 and 0.92 respectively. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, median, quartile deviation, Pearson product-moment correlation and stepwise multiple regression. The major findings were as follow. (1) Participative management of head nurses were rated at the high level. (2) Work environment were rated at the high level. (3) Job satisfaction were rated at the moderate level. (4) Participative management of head nurses significantly moderately correlated with job satisfaction at the 0.01 level, and work environment significantly highly correlated with job satisfaction at the 0.01 level. (5) Work environment and participative management of head nurses predicted job satisfaction of professional nurses in general hospitals in Region 3. These predictors accounted for 55.7 %en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib114922.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.98 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons