กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1872
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จิระสุข สุขสวัสดิ์ | th_TH |
dc.contributor.author | เชษฐิณี มหาวิเชียร, 2525- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-10-27T04:14:08Z | - |
dc.date.available | 2022-10-27T04:14:08Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1872 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับของสุขภาวะ คุณภาพชีวิต และความสุขของผู้สูงอายุ ในเขตอำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง และ (2) ศึกษาปัจจัยด้านสุขภาวะและด้านคุณภาพชีวิตที่ส่งผลต่อความสุขของผู้สูงอายุ ในเขตอำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตอำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง จำนวน 302 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบวัดสุขภาวะ แบบวัดคุณภาพชีวิต และแบบวัดความสุข มีค่าความเที่ยงของแบบวัดแต่ละฉบับคือ .85 .84 และ .93 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) สุขภาวะ คุณภาพชีวิต และความสุขของผู้สูงอายุ ในเขตอำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด และ (2) ปัจจัยด้านสุขภาวะและด้านคุณภาพชีวิตส่งผลต่อความสุขของผู้สูงอายุ ในเขตอำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สามารถร่วมกันทำนายความสุขได้ ร้อยละ 36 และเขียนสมการพยากรณ์ทำนายปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขโดยใช้คะแนนมาตรฐาน คือ Z' = 0.47Z2 + 0.20Z1 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ความสุขในวัยสูงอายุ--ไทย--ระยอง | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา | th_TH |
dc.title | ปัจจัยด้านสุขภาวะและด้านคุณภาพชีวิตที่ส่งผลต่อความสุขของผู้สูงอายุในเขตอำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง | th_TH |
dc.title.alternative | Factor well - being and quality of life affecting happiness of the elderly in Ban Khai District in Rayong Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were (1) to study the level of well-being, quality of life and happiness of the elderly in Ban Khai District, Rayong Province, and (2) to study factors of well-being and quality of life affecting happiness of the elderly in Ban Khai District, Rayong Province The research sample consisted of 302 elderly of 60 years and over living in Ban Khai District, Rayong Province, all of whom were obtained by simple random sampling. The employed research instrument was a scale to assess well-being, a scale to assess quality of life, and a scale to assess happiness with reliability coefficients of .85, .84 and .93, respectively. Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, and multiple regression analysis Research findings revealed that (1) the rating means of well-being, quality of life and happiness of the elderly In Ban Khai District, Rayong Province, the average was at the highest level and (2) well-being and quality of life had significant influence on happiness of the elderly in Ban Khai District, Rayong Province at the .05 level of statistical significance and could be used to predict happiness by 36 percent; and the predicting equation in the form of standard score was as shown below; Z = 0.47Z1 +0.20Z1 | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Edu-Independent study |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 10.22 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License