Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1882
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมนูญ โต๊ะยามาth_TH
dc.contributor.authorสุชานันท์ สนธิไชยth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-27T06:51:07Z-
dc.date.available2022-10-27T06:51:07Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1882-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.(เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ลักษณะทั่วไปของผู้บริโภคที่ใช้บริการประกันวินาศ ภัย 2) ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยกำหนดในการเลือกใช้บริการประวินาศภัย 3) ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้ บริการตามมูลค่าค่าเบี้ยประกันการบริการประกันวินาศภัย และ 4) ปัญหาและอุปสรรคของผู้บริโภคที่มี ต่อการใช้บริการประกันวินาศภัย ในเขตกรุงเทพมหานคร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้บริโภคที่ใช้บริการประกันวินาศภัยในเขต กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้จำนวน 600 คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น สถิติที่ใช้การวิเคราะห์ ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าทดสอบแบบที แบบเอฟ และแบบจำลอง การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1) ลักษณะส่วนบุคคลของผู้บริโภคที่ใช้บริการประกันวินาศภัย ส่วนใหญ่เป็น เพศหญิง อายุระหว่าง 41 – 45 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี เป็นพนักงานบริษัทเอกชน รายได้เฉลี่ยต่อ เดือนอยู่ในช่วง 10,001 – 20,000 บาท มีจำนวนสมาชิกครอบครัว 3 คน และมีการใช้บริการประกันภัย รถยนต์ ส่วนใหญ่ใช้บริการประกันภัยรถยนต์มีมูลค่าในช่วง 10,001 - 15,000 บาท และใช้บริการ ประกันภัยอัคคีภัยและบริการประกันภัยเบ็ดเตล็ดในแต่ละประเภทมีมูลค่าต่ำกว่าหรือเท่ากับ 5,000 บาท 2) ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยกำหนดในการเลือกใช้บริการประวินาศภัยโดยรวม ประกอบด้วยความ น่าเชื่อถือและไว้วางใจได้ ความรวดเร็วหรือการตอบสนอง การเอาใจใส่ลูกค้า การรับประกัน และ ภาพลักษณ์ของกิจการ อยู่ในระดับมาก 3) ปัจจัยที่มีผลต่อมูลค่าค่าเบี้ยประกันการบริการประกันวินาศภัย มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ประกันภัยรถยนต์ ได้แก่ ระดับการศึกษาปริญญาตรีขึ้นไป และรายได้ เฉลี่ยต่อเดือน ประกันภัยอัคคีภัย ได้แก่ อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน และ ประกันภัยเบ็ดเตล็ด ได้แก่ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของผู้บริโภค และ 4) ปัญหาและอุปสรรคของผู้บริโภคที่มี ต่อการใช้บริการประกันวินาศภัย ได้แก่ ผู้บริโภคมีความต้องการของการใช้บริการด้านประกันภัยมากขึ้น เรื่อยๆ แต่การบริหารจัดการไม่มีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบและชัดเจนเท่าที่ควร และปัญหาการ แข่งขันของผู้ประกอบการในตลาด โดยเฉพาะการแข่งขันที่ไม่ทำให้ธุรกิจมีการพัฒนาหรือปรับตัวให้มี ประสิทธิภาพในธุรกิจประกันวินาศภัยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2017.68-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectประกันวินาศภัยth_TH
dc.subjectประกันภัยth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย--กรุงเทพฯth_TH
dc.titleพฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีต่อการบริการประกันวินาศภัยในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeConsumer's behaviour towards non-life insurance services in Bangkokth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2017.68-
dc.degree.nameเศรษฐศาตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study 1) the general characteristic of consumer using non-life insurance services, 2) opinions towards factors affecting the selection of non-life insurance services, 3) factors determining the use non-life insurance service according to the premium payment, and 4) problems and obstacles regarding the use of non-life insurance services of consumers in Bangkok. The population in this study included the consumers using non-life insurance services comprising auto insurance services, the use of fire insurance service, and miscellaneous service. The six hundreds samples were selected through stratified random sampling method. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, f-test, and multiple regression model. The results showed that: 1) most consumer using nonlife-insurance services were female, aged between 41- 45 years, undergraduate degree, private companies’ employees, had monthly income between 10001-20000 baht, 3 family members, and used auto insurance service with premium payment between 10001-15000 baht, and used fire insurance and miscellaneous insurance services and insurance in each category with the value less than or equal to 5,000 baht. 2) Consumers’ opinions towards factors affecting the selection of non-life insurance service, including credibility and reliability, quick response, consumer care, warranty, and service image are at high levels.3) Factor determining the use non-life insurance service according to the premium payment are statistically significant at the level of 0. 05, for all types of insurance was monthly income, however the factors for fire and miscellaneous insurance services were and education level at graduate level and over, and private companies’ employees respectively. 4) Problems and obstacles regarding the use of non-life insurance services of consumers comprised an increase in demand for the service, administration, unsystematic and unclear administration, and competition of entrepreneurs in markets, especially the competition without business development or effective adaptation in non-life insurance businessen_US
dc.contributor.coadvisorรัฐวิชญญ์ จิวสวัสดิ์th_TH
Appears in Collections:Econ-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
158653.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.09 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons