Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1884
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมุกดา หนุ่ยศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorส่งศรี กิตติรักษ์ตระกูล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวรางค์ทิพย์ วรรณทิพย์, 2498--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-27T07:07:56Z-
dc.date.available2022-10-27T07:07:56Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1884-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมการ พยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดน้ำวุ้นตาของโรงพยาบาลสงฆ์ (2) ศึกษาต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมการพยาบาลผู้ป่วย ผ่าตัดน้ำวุ้นตา ในระยะก่อนผ่าตัด ระยะผ่าตัด และระยะหลังผ่าตัด ของโรงพยาบาลสงฆ์ และ (3) ศึกษา สัดส่วนต้นทุนกิจกรรมการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดน้ำวุ้นตา ในระยะก่อนผ่าตัด ระยะผ่าตัด และระยะหลัง ผ่าตัด ของโรงพยาบาลสงฆ์ กลุ่มตัวอย่างเป็นกิจกรรมการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดน้ำวุ้นตา โรงพยาบาลสงฆ์ จำนวน 20 ราย ผู้ให้ข้อมูล คือ พยาบาลและผู้ช่วยเหลือคนไข้ ห้องผ่าตัดจักษุ จำนวน 9 คน การวิเคราะห์ต้นทุนกิจกรรม การพยาบาลทางตรงครั้งนี้ใช้ระบบการต้นทุนกิจกรรม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบ บันทึกข้อมูล จำนวน 5 ชุด พจนานุกรมกิจกรรมการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดน้ำวุ้นตา และนาฬิกาจับเวลา เครื่องมือที่สร้างขึ้นผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนี้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และค่าความเที่ยงจากการ สังเกตตามแบบบันทึกกิจกรรมการพยาบาลเท่ากับ 0.90 ผลการศึกษาพบว่า (1) ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดน้ำวุ้นตา ของ โรงพยาบาลสงฆ์ รวม 16,168.00 บาท ประกอบด้วยต้นทุนค่าแรง 1,139.38 บาท ต้นทุนค่าวัสดุ 13,821.85 บาท และต้นทุนค่าลงทุน 1,206.77 บาท คิดเป็นสัดส่วนต้นทุนค่าแรง : ค่าวัสคุ : ค่าลงทุน 0.94 : 11.45 : 1 (2) ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดน้ำวุ้นตา (ก) ระยะก่อนผ่าตัด เท่ากับ 498.28 บาท ประกอบด้วย ต้นทุนค่าแรง 308.46 บาท ต้นทุนค่าวัสคุ 77.10 บาท และต้นทุนค่าลงทุน 112.72 บาท คิดเป็นสัดส่วนค่าแรง : ค่าวัสดุ : ค่าลงทุน 2.74 : 0.68 : 1 (ข) ระยะผ่าตัดเท่ากับ 15,076.01 บาท ประกอบด้วย ต้นทุนค่าแรง 593.34 บาท ต้นทุนค่าวัสดุ 13,595.02 บาท และต้นทุนค่าลงทุน 887.65 บาท คิดเป็นสัดส่วนค่าแรง ะ ค่าวัสดุ : ค่าลงทุน 0.67 : 15.32 : 1 และ (ค) ระยะหลังผ่าตัดเท่ากับ 593.71 บาท ประกอบด้วย ต้นทุนค่าแรง 237.58 บาท ต้นทุนค่าวัสดุ 149.73 บาท และต้นทุนค่าลงทุน 206.40 บาท คิดเป็นสัดส่วนค่าแรง : ค่าวัสดุ : ค่าลงทุน 1.15 : 0.73 : 1 และ (3) สัดส่วนต้นทุนกิจกรรมการพยาบาล ผู้ป่วยผ่าตัดน้ำวุ้นตา ในระยะก่อนผ่าตัด: ระยะผ่าตัด: ระยะหลังผ่าตัด ของโรงพยาบาลสงฆ์ เท่ากับ 1 : 30.26 : 1.19th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาลสงฆ์th_TH
dc.subjectการพยาบาล -- ค่าใช้จ่ายth_TH
dc.titleการวิเคราะห์ต้นทุนกิจกรรมการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดน้ำวุ้นตา โรงพยาบาลสงฆ์th_TH
dc.title.alternativeCost analysis of nursing care for patients receiving pars plana vitrectomy at the Priest Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this descriptive study were: (1) to investigate the cost of nursing care for patient receiving Pars Plana Vitrectomy (PPV) at the Priest hospital, and (2) to examine the cost of PPV in three operative nursing phases : pre-operation, on operation and post-operation, (3) to find the proportion of the costs of each phrase. The samples of this study comprised all nursing activities provided for 20 cataract patients. Six nurses and two nurse aides were informants. The Activity-Based Costing (ABC) system was used for analyzing the direct cost. Three research instruments were used of collecting data : 5 data recording forms, a list of nursing activities provided for PPV patient, and calibrated clocks. All instruments were tested for their content validity and reliability coefficient of the instrument was 0.90. Data were analyzed by descriptive statistics. The results of this study were as follows: (1) The total of nursing cost for PPV was 16,168.00 baht. This cost comprised labor cost, material cost, and capital cost (1,139.38, 13,821.85 and 1,206.77 baht or 0.94 : 11.45 : 1 respectively) (2) The nursing cost of PPV in 3 phases were as follows, (a) Pre-operative nursing was 498.28 baht. This cost included the labor cost, the material cost, and the capital cost (308.46, 77.10 and 112.72 baht or 2.74 : 0.68 : 1 respectively), (b) Operative nursing cost was 15,076.01 baht. This comprised the labor cost, the material cost, and the capital cost (593.34, 13,595.02 and 887.65 baht or 0.67 : 15.32 : 1 respectively), (c) The post- operative nursing cost was 593.71 baht This comprised the labor cost, the material cost, and the capital cost (237.58, 149.73 and 206.40 baht or 1. 15 : 0.73 : 1 respectively). Finally, (3) the proportion of the PPV cost of each phase was 1 : 30.26 : 1.19 respectively at the Priest Hospitalen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib114929.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.37 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons