Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1885
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorดวงใจ รัตนธัญญา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปิยาภรณ์ ทองประดิษฐ์, 2505--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-27T07:29:09Z-
dc.date.available2022-10-27T07:29:09Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1885-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงทำนายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยคัดสรร คุณลักษณะที่ สอดคล้องกับหลักอิทธิบาท 4 และพฤติกรรมบริการของพยาบาลวิชาชีพ (2) อิทธิพลระหว่างปัจจัย คัดสรร คุณลักษณะที่สอดคล้องกับหลักอิทธิบาท 4 กับพฤติกรรมบริการของพยาบาลวิชาชีพ ประชากรคือพยาบาลวิชาชีพที่ปฎิบัติงานในโรงพยาบาลเอกชน ขนาด 100 เตียงขึ้นไป ในกรุงเทพมหานคร อย่างน้อย 1 ปี จำนวน 1,017 คน คำนวณขนาดตัวอย่างโดยโปรแกรมสำเร็จรูป Power analysis ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 อำนาจในการทดสอบ 0.80 ขนาดอิทธิพล 0.13 ได้ จำนวน 104 คน กลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามที่ ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น ได้แก่ (1) แบบสอบถามปัจจัยคัดสรร (2 ) แบบสอบถามคุณลักษณะที่สอดคล้องกับ หลักอิทธิบาท 4 และ (3) แบบสอบถามพฤติกรรมบริการตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 ท่าน ค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม คุณลักษณะที่สอดคล้องกับหลักอิทธิบาท 4 และแบบสอบถามพฤติกรรมบริการตามการรับรู้ของ พยาบาลวิชาชีพ เท่ากับ 0.95 ทั้งสองฉบับ วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยค่าความถี่ รัอยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์ถดถอยพหุ ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับพฤติกรรมบริการตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โดยรวมอยู่ในระดับสูง ในรายด้านพบว่าด้านบุคลิกภาพในระดับสูงมาก (2) คุณลักษณะที่ สอดคล้องกับหลักอิทธิบาท 4 ของพยาบาลอยู่ในระดับสูง โดยพยาบาลมีคุณลักษณะด้านจิตตะมาก ที่สุด (3) ตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมบริการของพยาบาลวิชาชีพ ได้แก่ คุณลักษณะที่ สอดคล้องกับหลักอิทธิบาท 4 และการได้รับคำชมเชยจากผู้ใช้บริการเป็นลายลักษณ์อักษร สามารถ ทำนายพฤติกรรมบริการของพยาบาลวิชาชีพได้ร้อยละ75.8th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาลเอกชน -- ไทยth_TH
dc.subjectบริการการพยาบาลของโรงพยาบาล -- ไทยth_TH
dc.titleอิทธิพลระหว่างปัจจัยคัดสรรคุณลักษณะที่สอดคล้องกับหลักอิทธิบาท 4 กับพฤติกรรมบริการของพยาบาลวิชาชีพโรงบาลเอกชน กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeThe influence of selected factors and characteristics corresponding to the Four Paths of accomplishments on service behaviors of professional nurses at private hospitals in Bangkok metropolitan areath_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this predictive research were: (1) to study selected factors, characteristics corresponding to the four paths of accomplishments, and service behaviors of professional nurses and (2) to investigate the influence of selected factors and characteristics corresponding to the four paths of accomplishments on service behaviors of professional nurses. The population was 1,017 professional nurses who had experience at least one year at private 100-bed hospitals in Bangkok Metropolitan. The 104 sample was calculated by computer program. Power Analysis for which the significant level was 0.05, the power level was 0.80 and the effect size was .13. Stratified random sampling technique was used to select subjects. The questionnaires, developed by the researcher, included 3 sections: (1) selected factors, (2) characteristics corresponding to the four paths of accomplishments, and (3) service behaviors as perceived by professional nurses. Content validity of each questionnaire was examined by 7 experts. The Cronbach alpha reliability coefficients of the second and the third sections were 0.95 equally. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and multiple regression analysis. The results of this study illustrated as follows. (1) The service behaviors of professional nurses were rated at the high level over all as well as personality subscale. (2) The four paths of accomplishments were rated at the high level over all as well as the China subscale. Finally, (3) characteristics correspond to the four paths of accomplishments, with written praise from clients significantly predicted the service behaviors of professional nurses and accounted for 75.8% of varianceen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib118746.pdfเอกสารฉบับเต็ม8 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons