Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1898
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพูลสุข หิงคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุภมาส อังศุโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมยุรัตน์ วิรัชชัย, 2498--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-31T01:00:04Z-
dc.date.available2022-10-31T01:00:04Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1898-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การบริหารความปลอดภัยของพยาบาล วิชาชีพ ในโรงพยาบาลรามาธิบดี (2) คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ ในโรงพยาบาล รามาธิบดี และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารความปลอดภัยกับคุณภาพชีวิตการทำงานของ พยาบาลวิชาชีพ ในโรงพยาบาลรามาธิบดี กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลรามาธบดี จำนวน 262 คน ได้มาจากการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารความปลอดภัย และคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .95 และ .92 ตามลำดับ สถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) การบริหารความปลอดภัยของพยาบาลวิชาชีพ ในโรงพยาบาล รามาธิบดี โดยภาพรวมอยู่ในระดับสูง (2) คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ ใน โรงพยาบาลรามาธิบดี โดยภาพรวมอยู่ในระดับสูง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า คุณภาพชีวิตการ ทำงานของพยาบาลวิชาชีพ อยู่ในระดับสูง 6 ด้าน และอยู่ในระดับปานกลาง 2 ด้าน คือ ด้านความ สมดุลในการดำรงชีวิตและด้านค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม และ (3) การบริหารความ ปลอดภัยมีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ ระดับปานกลาง (r = .633) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/ 10.14457/STOU.the.2009.194en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงาน -- ไทยth_TH
dc.subjectการบริหารความเสี่ยงth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารความปลอดภัยกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลรามาธิบดีth_TH
dc.title.alternativeThe relationship between safety management and the quality of work life of professional nurses, Ramathibodi Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2009.194en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to investigate a safety management of professional nurses at Ramathibodi Hospital, (2) to study the quality of work life of professional nurses, and (3) to explore the relationship between the safety management and the quality of work life of professional nurses. The subjects included 262 nurses. They were selected by the stratified random sampling technique based on their clinical areas. Questionnaires were used as research tools and consisted of two parts: safety management and the quality of work life. The Cronbach’s alpha coefficients of those two parts were 0.95 and 0.92 respectively. The statistical analysis employed in the study were descriptive statistics (percentage, frequency, and standard deviation), and Pearson’s product-moment correlation coefficient. The findings were as follows. (1) Nurses rated the safety management at the high level. (2) Nurses also rated their quality of work life at the high level; In considering its 8 dimensions, they rated six dimensions at the high level while they rated the balance of their work life and the sufficiency and fairness of their compensation at the moderate level. Finally, (3) there was a statistically significant positive correlation between the safety management and the quality of work life at the moderate level (r = .633, p < .01)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib118775.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.81 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons