Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1914
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัจฉรา โพธิ์ดี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอัจฉรา จิตตลดากร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพัชรินทร์ ภักดีกลาง, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-31T03:25:49Z-
dc.date.available2022-10-31T03:25:49Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1914-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกรผู้ผลิตข้าวเปลือกและเมล็ดพันธุ์ข้าว ( 2) เปรียบเทียบกระบวนการผลิตข้าวเปลือกและเมล็ดพันธุ์ข้าวของเกษตรกร (3) เปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตข้าวเปลือกและเมล็ดพันธุ์ข้าวของเกษตรกร และ (4) ศึกษาปัญหาในการผลิตข้าวเปลือกและเมล็ดพันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ของเกษตรกร ผลการวิจัย พบว่า (1) เกษตรกรทั้ง 2 กลุ่ม ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 49.9 ปี จบการศึกษาชั้นประถมศึกษา มีประสบการณ์ในการทำนาเฉลี่ย 30.1 ปี มีจำนวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.4 คน มีการใช้พื้นที่ทำนาเฉลี่ย 22.3ไร่ (2) เกษตรกรทั้ง 2 กลุ่ม มีกระบวนการผลิตที่แตกต่างกันในด้าน การเตรียมเมล็ดพันธุ์ แหล่งที่มาของเมล็ดพันธุ์ อัตราของเมล็ดพันธุ์ที่ใช้ต่อไร่ การปลูก การปฏิบัติดูแลรักษา และการจำหน่ายผลผลิต (3) เกษตรกรที่ผลิตข้าวเปลือกมีต้นทุนการผลิตเฉลี่ย 5,122.89 บาทต่อไร่ ได้ผลผลิตเฉลี่ย 325.5 กิโลกรัมต่อไร่ กําไรเฉลี่ย 898.86 บาทต่อไร่ หรือ 2.76 บาทต่อกิโลกรัม ส่วนเกษตรกรที่ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวมีต้นทุนการผลิตเฉลี่ย 4,456.86 บาทต่อไร่ ได้ผลผลิตเฉลี่ย 339.1 กิโลกรัมต่อไร่ กําไรเฉลี่ย 2,562.42 บาทต่อไร่หรือ 7.66 บาทต่อกิโลกรัม (4) ปัญหาสำคัญในการผลิตข้าวของเกษตรกรทั้ง 2 กลุ่ม คือ ปุ๋ยเคมีมีราคาแพง และอัตราค่าจ้างแรงงานสูงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.328-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectข้าวขาวดอกมะลิ 105--การปลูกth_TH
dc.subjectข้าวขาวดอกมะลิ 105--การผลิตth_TH
dc.subjectข้าวขาวดอกมะลิ 105--เมล็ดพันธุ์--การผลิตth_TH
dc.subjectข้าวขาวดอกมะลิ 105--เมล็ดพันธุ์--ต้นทุนการผลิตth_TH
dc.titleการเปรียบเทียบกระบวนการผลิต ต้นทุน และผลตอบแทนระหว่างการผลิตข้าวเปลือกและเมล็ดพันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ของเกษตร หมู่ 6 ตำบลหนองสามสี อำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอำนาจเจริญth_TH
dc.title.alternativeComparison of production process, costs and returns between grain and seed production of Khao Dawk Mali 105 rice by farmers in Moo 6, Nong Samsee Sub-district, Senangkhanikhom District, Amnat Charoen Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.328-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the research were to 1) study the socio-economic status of farmers who produced grain and seed of Khao Dawk Mali 105 rice; 2) compare their rice production processes;3) compare their costs and returns; and 4) study their production problems. This was a survey reseach. The population used in this study was 205 rice farmers who were registered for rice production with the Department of Agricultural Extension in the year 2012/13 in Moo. 6, Nong Sam Si Sub-district, Senangkhanikhom District, Amnart Charoen Province. The population was divided into two groups as follows1) 188 grain producers and 2) 17 seed producers.Sample size taken of the first group was 57 farmers (30% of the population) and the second group was the total population. The research tool was a questionnaire. The data were analyzed by using descriptive statistics:frequency, mean, percentage and standard deviation The results showed that: 1) for both groups of farmers, most were male, average age of 49.9years, with primary level education, average number of family members 4.4,and 30.1years experience in rice production. Average planted area was 22.3rais.(1 rai = 1,600 m2) 2) The production processes of the two groups differed inseed preparation, sources of seed, rate of seed used per unit area, planting method, cultivation methods, and selling method.3) Grain producers had an average cost of 5,122.89 baht/rai, an average yield of 325.5kg./rai, an average profit of 898.86 bath/rai or 2.76 baht/kg., while seedproducers had an average cost of 4,456.86 baht/rai, an average yield of 339.1kg./rai, an average profit of 2,596.42 baht/rai or 7.66 baht/kg. 4) Major production problems for both groups of farmers were the high price of chemical fertilizer and high wage rate.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
142866.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.69 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons