Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1924
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อารี ชีวเกษมสุข, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | สุวิณี วิวัฒน์วานิช, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | สมถวิล วิจิตรวรรณา, 2499- อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ดลฤดี รัตนปิติกรณ์, 2510- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-10-31T06:27:38Z | - |
dc.date.available | 2022-10-31T06:27:38Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1924 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การคงอยู่ในงาน และปัจจัยคัดสรรที่มีผลต่อการคงอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ เครือโรงพยาบาลพญาไท (2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับการคงอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพเครือโรงพยาบาล พญาไท และ (3) ตัวแปรพยากรณ์ที่ร่วมกันทำนายการคงอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ เครือโรงพยาบาลพญาไท กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นพยาบาลวิชาชีพ ที่มีประสบการณ์การทำงานตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ที่ปฎิบัติงานในโรงพยาบาลที่อยู่ในเครือโรงพยาบาลพญาไท กรุงเทพมหานคร จำนวน 268 คน ซึ่ง ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบสุ่มเชิงเดี่ยว เครื่องมือที่ใช้เป็นในการวิจัย ได้แก่ (1) แนวทางการสนทนา กลุ่ม (2) แบบสอบถามประกอบด้วย 5 ส่วน คือ ข้อมูลส่วนบุคคล การทำงานเป็นทีม ภาวะผู้นำการ เปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ค่าตอบแทน และการคงอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ แบบสอบถามผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนี้อหาและวิเคราะห์ความเที่ยง ได้ค่าความเที่ยงของ แบบสอบถามส่วนที่ 2-5 เท่ากับ 0.98, 0.98, 0.87 และ 0.89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหา ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ แบบเพิ่มตัวแปรเป็นขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า (1) การคงอยู่ในงานและค่าตอบแทนโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 3.43 และ 3.15) การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย โดยรวมอยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย = 3.80 และ 4.02) (2) การทำงานเป็นทีม ภาวะผู้นำการ เปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย และค่าตอบแทนมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการคงอยู่ในงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (3) ตัวแปรพยากรณ์ร่วมกันทำนายการคงอยู่ในงานของ พยาบาลวิชาชีพ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.001 ตามลำดับด้งนี้ การทำงานเป็นทีม ภาวะผู้นำการ เปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย และค่าตอบแทน โดยร่วมกันพยากรณ์ได้ร้อยละ 27 (R2= 0.270) | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.270 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การทำงานเป็นทีม | th_TH |
dc.subject | พยาบาลวิชาชีพ -- ไทย | th_TH |
dc.subject | ภาวะผู้นำทางการศึกษา | th_TH |
dc.title | ปัจจัยทำนายการคงอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพเครือโรงพยาบาลพญาไท | th_TH |
dc.title.alternative | Predictive factors of professional nurses' job retention at Phyathai Hospitals | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2009.270 | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this descriptive research were: (1) to investigate the professional nurses’ job retention and selected variables affecting professional nurses’ job retention at Phyathai Hospitals; (2) to study the relationships between selected variables and professional nurses’ job retention; and (3) to identify the predictive variables of the professional nurses’ job retention. The sample consisted of 268 professional nurses who worked at Phyathai Hospitals for more than 1 year. They were selected by the simple random sampling technique. The research instruments consisted of (1) focus group discussion guideline and (2) questionnaires. The latter included 5 parts: demographic data, team work, transformational leadership of head nurses, compensation, and nurses’ job retention. The questionnaires were tested for validity and reliability. The reliabilities of the second to the fifth parts were 0.98, 0.98, 0.87, and 0.89 respectively. Statistical techniques used for data analysis were frequencies, percentage, mean, standard deviation, Pearson’s product-moment correlation coefficient, and stepwise multiple regression. The major findings were as follows. (1) Professional nurses rated their job retention and compensation overall at the moderate level (X = 3.43 and 3.15), team work and transformational leadership of head nurses overall at the high level (X- 3.80 and 4.02). (2) There were significantly positive relationships between team work, transformational leadership of head nurses, compensation, and profession nurses’job retention at level 0.01. (3) Team work, transformational leadership of head nurses, and compensations were predictors of job retention for 27% (R2= 0.270) | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib118794.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 6.48 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License