Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1942
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารยา ประเสริฐชัยth_TH
dc.contributor.authorธามน เต็มสงสัยth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-31T08:43:37Z-
dc.date.available2022-10-31T08:43:37Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1942-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม. (บริหารโรงพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) คุณลักษณะส่วนบุคคล ปัจจัยด้านการปฏิบัติงาน การรับรู้ระดับความมีอิสระในการทำงาน ความพึงพอใจในการบริหารงานภายในองค์กร และความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล 2) แรงจูงใจในการมีส่วนร่วมในงานพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะส่วนบุคคล ปัจจัยด้านการปฏิบัติงาน การรับรู้ระดับความมีอิสระในการทำงาน ความพึงพอใจในการบริหารงานภายในองค์กร และความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล กับแรงจูงใจในการมีส่วนร่วมในงานพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลของบุคลากรโรงพยาบาลเทศบาลนครนครศรีธรรมราช ประชากรในการศึกษาคือ บุคลากรโรงพยาบาลเทศบาลนครนครศรีธรรมราช จำนวน 200 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาซได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.76 วิเคราะห์ผลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปโดยใช้สถิติการทดสอบไค-สแควร์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เชิงอันดับแบบสเปียร์แมน ผลการศึกษาพบว่า 1) ประชากรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 31-40 ปี สถานภาพโสด ระดับการศึกษาปริญญาตรี มีรายได้ต่อเดือนต่ำกว่า 10,000 บาท ปฏิบัติงานอยู่ในฝ่ายการพยาบาล ปฏิบัติหน้าที่ด้านปฏิบัติการและมีสถานภาพเป็นพนักงานจ้างเหมาบริการ บุคลากรมีการรับรู้ระดับความมีอิสระในการทำงานในระดับปานกลาง มีความพึงพอใจในการบริหารงานภายในองค์กรในระดับปานกลาง และมีความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลในระดับสูง 2) บุคลากรมีระดับแรงจูงใจในการมีส่วนร่วมในงานพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลในระดับต่ำ และ 3) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับแรงจูงใจในการมีส่วนร่วมในงานพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ได้แก่ การรับรู้ระดับความมีอิสระในการทำงาน และความพึงพอใจในการบริหารงานภายในองค์กรth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2017.33-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารโรงพยาบาล --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาล--การบริหารth_TH
dc.subjectการจูงใจในการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อแรงจูงใจในการมีส่วนร่วมในงานพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลของบุคลากรโรงพยาบาลเทศบาลนครนครศรีธรรมราชth_TH
dc.title.alternativeFactors relating to the motivation to participate in the quality improvement among staff in Nakhon Si Thammarat Municipality Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2017.33-
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive, cross-sectional study were: (1) to identify personal attributes, work-related factors, staff’s perception of work autonomy, satisfaction with organizational administration, and knowledge about hospital quality improvement; (2) to explore motivation to participate in hospital quality improvement; and (3) to determine the relationship between all aforementioned factors and the motivation to participate in hospital quality improvement, all involving personnel at Nakhon Si Thammarat Municipal Hospital. A total of 200 personnel were recruited in this study. A questionnaire that had Cronbach’s alpha reliability coefficient of 0.76 was used for data collection. Descriptive statistics including chi-square test and Spearman rank correlation coefficient were used in data analysis. The results showed that: (1) of all respondents, most of them were female, aged between 31-40 years, single, and affiliated with the nursing department; and had a bachelor’s degree, a total income below 10,000 baht/month, working status as service- contract employees, moderately perceived work autonomy, moderate satisfaction with organizational administration, and the high level of knowledge about hospital quality improvement; (2) their motivation to participate in quality improvement was low; and (3) staff’s perceived work autonomy and satisfaction with organizational administration were significantly related to their motivation to participate in hospital quality improvementen_US
dc.contributor.coadvisorพาณี สีตกะลินth_TH
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
158774.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.81 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons