Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1945
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชื่นจิตร โพธิศัพท์สุข, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | ธัญรดี จิรสินธิปก, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | นุสรา สุทธิธรรม, 2508- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-11-01T01:29:47Z | - |
dc.date.available | 2022-11-01T01:29:47Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1945 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเซิงปฏิบัติการนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารความเสี่ยงต่อการ เลื่อน/หลุดของท่อช่วยหายใจโดยการมีส่วนร่วมของพยาบาลห้องผู้ป่วยหนัก 1 โรงพยาบาลสมุทรสาคร วัตถุประสงค์เฉพาะเพื่อ (1) วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาการเลื่อน/หลุดของท่อช่วยหายใจ (2) ดำเนินการ พัฒนารูปแบบการบริหารความเสี่ยงต่อการเลื่อน/หลุดของท่อช่วยหายใจโดยการมีส่วนร่วมของพยาบาล (3) เปรียบเทียบจำนวนอุบัติการณ์การเลื่อน/หลุดของท่อช่วยหายใจของผู้ป่วย และความพึงพอใจของ พยาบาลต่อรูปแบบการบริหารความเสี่ยงก่อนและหลังใช่รูปแบบการบริหารความเสี่ยงฯ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาซิพที่ปฏิบัติงานห้องผู้ป่วยหนัก 1 โรงพยาบาลสมุทรสาคร จำนวน 16 คน ผู้ป่วยที่ใส่ท่อช่วยหายใจ จำนวน 37 คน และญาติของผู้ป่วยที่เกิดอุบัติการณ์การเลื่อน/หลุด ของท่อช่วยหายใจ เครื่องมือที่ใช่เป็นแบบบันทึกรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง แบบสัมภาษณ์ผู้ป่วยและ ญาติ แนวคำถามในการสนทนากลุ่ม แผนการอบรมเซิงปฏิบัติการ แบบบันทึกติดตามประเมินผลการ เลื่อน/หลุดของท่อช่วยหายใจ และแบบสอบถามความพึงพอใจของพยาบาล แบบสอบถามใช้กับการ ตรวจสอบความตรงเซิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน และตรวจสอบความเที่ยง มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.92 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเซิงปริมาณ ให้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน ค่าไคสแควร์ การทดสอบค่าทีแบบจับคู่ และการวิเคราะห์ข้อมูลเซิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์ เนื้อหาจากการสนทนากลุ่มของพยาบาล และการสัมภาษณ์ผู้ป่วยและญาติ ผลการวิจัยพบว่า (1) สาเหตุการเลื่อน/หลุดของท่อช่วยหายใจส่วนใหญ่เกิดจากปัจจัยด้าน ผู้ป่วย รองลงมาคือ ปัจจัยด้านญาติและปัจจัยด้านปฏิบัติการพยาบาล (2) การพัฒนารูปแบบจะให้รูปแบบ การบริหารความเสี่ยงฯ ที่ประกอบด้วย แนวทางปฏิบัติ แบบบันทึกติดตามประเมินผลการเลื่อน/หลุดของ ท่อช่วยหายใจ และแผนภูมิแสดงขั้นตอนการบริหารความเสี่ยงต่อการเลื่อน/หลุดของท่อช่วยหายใจ (3) จำนวนอุบัติการณ์การเลื่อน/หลุดของท่อช่วยหายใจ หลังใช่รูปแบบการบริหารความเสี่ยงต่ำกว่าก่อน ใช่รูปแบบการบริหารความเสี่ยง และค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของพยาบาล หลังใช่รูปแบบการบริหารความ เสี่ยง สูงกว่าก่อนใช่รูปแบบการบริหารความเสี่ยงฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | วิสัญญีวิทยา -- เครื่องมือและอุปกรณ์ . | th_TH |
dc.subject | เครื่องช่วยหายใจ | th_TH |
dc.subject | พยาบาล -- ภาระงาน -- การบริหารความเสี่ยง | th_TH |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการบริหารความเสี่ยงต่อการเลื่อนหลุดของท่อช่วยหายใจโดยการมีส่วนร่วมของพยาบาลในห้องผู้ป่วยหนัก 1 โรงพยาบาลสมุทรสาคร | th_TH |
dc.title.alternative | The development of a risk management model of accidental extubation by staff nurses' involvement in the intensive care unit, Samutsakhon Hospital | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2009.228 | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this Action research were to (1) analyzed causes of Accidental Extubation (2) develop risk management model (3)compare incidence of Accidental Extubation in patients and nurses’ satisfaction before and after using risk management model. Study sample consisted of 16 staff nurses in Intensive Care Unit, Samutsakhon Hospital, and 37 patients (on endotracheal tube). The instruments used were incidence of Accidental Extubation report, and nurse’satisfaction questionnaire. The research instrument was tested for content validity by a panel of 5 experts and reliability. Cronbach’s alpha coefficient for nurse’satisfaction questionnaire were 0.92 respectively. Statistics used for research data analysis were percentage, mean, standard deviation, chi-square and paired t-test.The quality data were analyzed by content analysis method. The research findings were (1) The causes of incidence were patient, family and nurses (2) The risk management model composed of three elements: practice guidelines, incidence of Accidental Extubation report and flow chart (3)The incidence of Accidental Extubation after the implementation of risk management model were lower than before, and Mean score of nurse’satisfaction after the implementation of risk management model were higher the before, at the 0.5 level | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib118804.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 8.84 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License