Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1953
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรทิพย์ กีระพงษ์th_TH
dc.contributor.authorนพคุณ แทนผักแว่น, 2514-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2022-11-01T02:18:11Z-
dc.date.available2022-11-01T02:18:11Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1953en_US
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) คุณลักษณะส่วนบุคคลและความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านอำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา (2) ระดับการมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน (3) ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะส่วนบุคคลกับการมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (4) ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้และการมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้านอำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ประชากรที่ศึกษา คือ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านอำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา จํานวน 3,381 คน กลุ่มตัวอย่างจํานวน 345 คน โดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือวิจัย คือ แบบทดสอบด้านความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก และด้านการมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่มีค่าความเชื่อมั่น 0.824 และ 0.917 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบฟิชเชอร์แอคแซกท์ ผลการศึกษาพบว่า (1) อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้านอำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 30-60 ปี อาชีพเกษตรกรรม มีรายได้ต่ำกว่า 5,000 บาท ส่วนมากมีการศึกษาระดับประถมศึกษา ระยะเวลาการเป็นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 16-20 ปี ส่วนใหญ่รับรู้ข่าวสารเรื่องโรคไข้เลือดออกจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข โทรทัศน์ การสนทนากับเพื่อนบ้านหรือคนในครอบครัวและอินเทอร์เน็ตและสื่อสังคมออนไลน์ในระดับมาก ส่วนใหญ่มีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกในระดับสูง (2) ระดับการมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านอำเภอพิมายทั้งในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก (3) ระดับการศึกษา ระยะเวลาเป็นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและวิธีการรับรู้ข่าวสารเรื่องโรคไข้เลือดออก มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และ (4) ระดับความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกไม่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectไข้เลือดออก--การป้องกันและควบคุม--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารสาธารณสุขth_TH
dc.titleการมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมาth_TH
dc.title.alternativeParticipation in dengue prevention and control of village health volunteers in Phimai District, Nakhon Ratchasima Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis descriptive research aimed to study: (1) personal characteristics and knowledge about dengue of village health volunteers (VHVs); (2) the level of participation in dengue control and prevention of VHVs; (3) relationship between personal characteristics and participation in dengue prevention control of VHVs; and (4) relationship between knowledge and participation in dengue prevention control of VHVs, all in Nakhon Ratchasima’s Phimia district. The study was conducted in 345 VHVs randomly selected from all 3,381 VHVs in the district. Data were collected using a questionnaire plus dengue knowledge and disease prevention control participation assessment form, whose reliability values were 0.824 and 0.917, respectively. The data were analyzed using percentage, mean, standard deviation, and Fisher’s exact test. Results showed that: (1) most of VHVs/participants in Phimai district were female farmers aged 30-60 years with a monthly income of less than 5,000 baht, had finished primary education, had been VHVs for 16-20 years, had gained knowledge of dengue from health workers, television, chatting with neighbors or family members, the internet and social media, and had a high level of knowledge about dengue: (2) the overall and aspect-based participation levels in the control and prevention of dengue of VHVs in the district were at a high level; (3) VHVs’ educational level, years of VHV service, and dengue perception methods were correlated with their participation in dengue prevention and control; and (4) VHVs’ knowledge level of dengue did not correlate with their participation in dengue prevention and controlen_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.18 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons