Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1968
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมพล จตุพร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกรวัชร ทนงค์, 2533--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-11-01T03:23:48Z-
dc.date.available2022-11-01T03:23:48Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1968-
dc.description.abstractการศึกษาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประมาณตัวแบบพยากรณ์ ด้วยวิธี SARIMA และ (2) พยากรณ์ปริมาณการนำเข้าจากถั่วเหลืองของประเทศไทย ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2563 ถึง เดือนธันวาคม พ.ศ. 2564 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือข้อมูลทุติยภูมิมีลักษณะเป็นอนุกรมเวลารายเดือนเริ่มตั้งแต่ เดือนมกราคม พ.ศ. 2554 ถึง เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2563 รวมข้อมูลทั้งหมด 114 ตัวอย่าง และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการทางเศรษฐมิติ ได้แก่ การทดสอบความหยุดนิ่งของข้อมูลและการพยากรณ์ทางอนุกรมเวลา ด้วยวิธีบ็อกซ์-เจนกินส์ ผลการศึกษา พบว่า (1) แบบจำลองที่เหมาะสมต่อการพยากรณ์มากที่สุด คือ แบบจําลอง SARIMA(0,0,0)(3,1,0)12 และ (2) การพยากรณ์ปริมาณการนําเข้าจากถั่วเหลืองของประเทศไทยในช่วงครึ่งปีหลัง พ.ศ. 2563 และตลอดปี พ.ศ. 2564 พบว่า ในช่วงครึ่งปีหลัง พ.ศ. 2563 ประเทศไทยจะมีปริมาณการนําเข้ากากถั่วเหลืองลดลงร้อยละ 13.99 ในขณะที่ตลอดปี พ.ศ. 2564 ประเทศไทยจะมีปริมาณการนําเข้ากากถั่วเหลืองเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.79th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectกากถั่วเหลือง--ไทย--การนำเข้าth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์ธุรกิจth_TH
dc.titleการพยากรณ์อุปสงค์การนำเข้ากากถั่วเหลืองของประเทศไทยด้วยวิธีบ็อกซ์-เจนกินส์th_TH
dc.title.alternativeForecasting import demand for soybean meal of Thailand using the Box-Jenkins approachth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeTills study places value on (1) an estimation of the forecasting model by using the sARIMA method and (2) forecasting of Thailand's soybean meal import quantity from July 2020 to December 2021. The data used in this study were the monthly time senes secondary data for January 2011 to June 2020, 114 observations, and they were analyzed by econometric method, i.e., stationary testing and time senes forecasting by using the Box-Jenkins method. The results revealed that (1) the best-fit forecasting model was SARIMA(0.0.0)(3.1.0)12 and (2) Thailand’s soybean meal import quantity in the second half of 2020 and throughout 2021 showed that in the second half of 2020. Thailand's soybean meal import quantity would be decreased by 13.99 per cent, while throughout 2021, Thailand’s soybean meal import quantity would be increased by 14.79 per centen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.75 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons