Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2000
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนันท์ สีสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.contributor.authorจักราวุธ ศุขวัฒน์, 2523--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-03T02:44:55Z-
dc.date.available2022-11-03T02:44:55Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2000-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร 2 ) ความรู้ ความเข้าใจของเกษตรกรเกี่ยวกับการปลูกข้าวโพดแบบมีสัญญา 3) เจตคติของเกษตรกรเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อความสาเร็จในการปลูกข้าวโพด 4) ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของเกษตรกรในการปลูกข้าวโพดแบบมีสัญญา 5) ปัญหาและข้อเสนอแนะของเกษตรกรเกี่ยวกับการส่งเสริมการปลูกข้าวโพดแบบมีสัญญา ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีพื้นที่ปลูกข้าวโพดโดยเฉลี่ย 6.82 ไร่ ส่วนเกษตรกรทั่วไปมีพื้นที่ปลูกข้าวโพดโดย เฉลี่ย 14.55 ไร่ รายได้จากการขายข้าวโพดเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เฉลี่ย 89,816.47 บาท และมีหนี้สินโดยเฉลี่ย 29,090.91 บาท ส่วนเกษตรกรทั่วไปมีรายได้จากการขายข้าวโพด 114,082.35 บาท และมีหนี้สินโดยเฉลี่ย 63,647.06 บาท สำหรับต้นทุนการผลิตเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีต้นทุนการผลิตต่อไร่ เฉลี่ย 4,250 บาท ส่วนเกษตรกรทั่วไปมีต้นทุนการผลิตต่อไร่เฉลี่ย 5,140 บาท 2) ความรู้ความเข้าใจของเกษตรกรเกี่ยวกับการปลูกข้าวโพดแบบมีสัญญา เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการและเกษตรกรทั่วไปมีความรู้ความเข้าใจไม่แตกต่างกันกัน 3) เจตคติของเกษตรกรเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จ เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีความคิดเห็นในเรื่องพื้นที่ที่ใช้ในการเพาะปลูกและทุนในการเพาะปลูกอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนเกษตรกรทั่วไปส่วนใหญ่มีความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ อยู่ในระดับมาก 4) ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของเกษตรกรในการปลูกข้าวโพดแบบมีสัญญา เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีความคิดเห็นในด้านการมีสัญญารับซื้อผลผลิตและราคาที่รับซื้อที่แน่นอน ส่วนเกษตรกรทั่วไปมีความคิดว่าปัจจัยต่อการตัดสินใจในเรื่องแหล่งน้ำ และเงินทุน 5) ปัญหาของเกษตรกรเกี่ยวกับการส่งเสริมการปลูกข้าวโพดแบบมีสัญญา ส่วนใหญ่เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีปัญหาในเรื่องต่างๆ อยู่ในระดับที่น้อย ส่วนเกษตรกรทั่วไปมีปัญหาในระดับมาก นอกจากนี้ เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการและเกษตรกรทั่วไปมีปัญหาในเรื่องของแหล่งน้ำ จึงเสนอแนะให้รัฐบาลสนับสนุนด้านแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectข้าวโพด--เมล็ดพันธุ์--การปลูกth_TH
dc.subjectเกษตรกร--ไทย--อุตรดิตถ์th_TH
dc.titleการตัดสินใจเข้าร่วมการปลูกข้าวโพดเมล็ดพันธุ์แบบมีสัญญาผูกพันของเกษตรกรในอำเภอทองแสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์th_TH
dc.title.alternativeDecsion making by Farmers on Maize Seed Production under Contract Farmimg in Thong Saen Khan District of Uttaradit Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
144533.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.16 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons