Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2007
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศรีนวล สถิตวิทยานันท์, 2495- อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | ดวงกมล วัตราดุลย์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | แสงจันทร์ เบ็ญมาศ, 2512- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-11-03T03:49:31Z | - |
dc.date.available | 2022-11-03T03:49:31Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2007 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนื้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาตัวชี้วัดคุณภาพด้านผลลัพธ์การพยาบาล ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โดยใช้เทคนิคการวิจัยแบบเดลฟาย และ (2) เพื่อประเมินความเป็นไป ได้ในการนำตัวชี้วัดไปใช้ในการประเมินคุณภาพด้านผลลัพธ์การพยาบาลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้น เรื้อรัง โดยใช้เทคนิคการวิจัยแบบเดลฟาย กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นผู้เชี่ยวชาญในการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง จำนวน 22 คน ประกอบด้วย ผู้บริหารหอผู้ป่วย 6 คน ผู้ปฏิบัติการพยาบาล 7 คน นักวิชาการ/อาจารย์พยาบาล 6 คน และแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางวุฒิบัตรอายุรกรรม 3 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็น แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น รอบที่ 1 เป็นแบบสอบถามผู้เชี่ยวชาญด้วยข้อคำถามแบบกึ่ง โครงสร้างปลายเปิด รอบที่ 2 เป็นการใช้แบบสอบถามที่สร้างขึ้นจากการวิเคราะค์เนื้อหาในการ สัมภาษณ์ในรอบที่ 1 เพื่อสร้างตัวชี้วัดเป็นมาตรประมาณค่า และรอบที่ 3 เป็นการใช้แบบสอบถาม รอบที่ 2 ซึ่งปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญและแสดงค่ามัธยฐาน ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัยพบว่า ตัวชี้วัดคุณภาพด้านผลลัพธ์การพยาบาลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ซึ่งผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วย คุณภาพด้านผลลัพธ์การพยาบาล 28 รายการ ตัวชี้วัดย่อย 48 รายการ เป็นรายการที่มีความสำคัญระดับมากที่สุดขึ้นไปทุกรายการ จำแนกเป็น 6 กลุ่ม ดังนื้ (1) ตัวชี้วัดคุณภาพกลุ่มสุขภาพการทำหนัาที่ของร่างกาย จำนวน 5 รายการ ตัวชี้วัดย่อย 6 รายการ (2) ตัวชี้วัดคุณภาพกลุ่มสุขภาพสรีรวิทยา จำนวน 10 รายการ ตัวชี้วัดย่อย 18 รายการ (3) ตัวชี้วัดคุณภาพกลุ่มสุขภาพจิตสังคม จำนวน 3 รายการ ตัวชี้วัดย่อย 6 รายการ (4) ตัวชี้วัด คุณภาพกลุ่มสุขภาพความรู้และพฤติกรรมสุขภาพ จำนวน 4 รายการ ตัวชี้วัดย่อย 8 รายการ (5) ตัวชี้วัดคุณภาพกลุ่มสุขภาพการรับรู้ จำนวน 3 รายการ ตัวชี้วัดย่อย 3 รายการ (6) ตัวชี้วัด คุณภาพกลุ่มสุขภาพครอบครัวผู้ดูแล จำนวน 3 รายการ ตัวชี้วัดย่อย 7 รายการ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.241 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ปอด -- โรค -- การพยาบาล | th_TH |
dc.subject | บริการการพยาบาล | th_TH |
dc.title | ตัวชี้วัดคุณภาพด้านผลลัพธ์การพยาบาลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง | th_TH |
dc.title.alternative | The quality indicators of nursing outcomes in patients with Chronic Obstructive Pulmonary Disease | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2011.241 | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were: (1) to examine the quality indicators of nursing outcomes with chronic obstructive pulmonary disease, and (2) to assess the feasibility of applying these quality indicators in evaluating nursing outcomes for chronic obstructive pulmonary disease by using the Delphi research technique. The sample for this study comprised twenty-two subjects who specialized in the treatment and care of chronic obstructive pulmonary disease. These twenty-two subjects comprised 6 nursing administrators, 7 nursing practitioners, 6 nursing instructors, and 3 specialists in medicine. Questionnaires, developed by the researcher, were used as research tools. In the first round, subjects were asked to answer semi-open ended questions. In the second round, data from the first round were analyzed and quality indicators were developed by using rating scale questionnaires. In the third round, rating scale questionnaires which were developed from the second round were improved based on further suggestions from specialists and illustrated the median and interquartile range values. The results of this research showed that quality indicators of nursing outcomes for chronic obstructive pulmonary disease, as agreed by the specialists, consisted of 28 items and 48 sub-indicators. Each of these indicators was rated as the ‘most significance’ and can be classified into six domains as follows. (1) Functional health indicators consisted of 5 items and 6 sub-indicators. (2) Physiological health indicators consisted of 10 items and 18 sub-indicators. (3) Psychosocial health indicators consisted of 3 items and 6 sub-indicators. (4) Health knowledge and behavior indicators consisted of 4 items and 8 sub-indicators. (5) Perception of health indicators consisted of 3 items and 3 sub-indicators. Finally, (6) family and health indicators consisted of 3 items and 7 sub-indicators | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib128225.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 20.31 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License