Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2039
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเรณุการ์ ทองคำรอด, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพูลสุข หิงคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุภมาส อังศุโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธารินี ศิริวัลย์, 2516--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-07T01:53:02Z-
dc.date.available2022-11-07T01:53:02Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2039-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมการ นิเทศการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลชุมชน เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 17 (2) ศึกษาประสิทธิผลการบันทึกการพยาบาลของโรงพยาบาลชุมชน เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 17 และ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการนิเทศการพยาบาลของหัวหนัาหอผู้ป่วยกับ ประสิทธิผลการบันทึกการพยาบาล โรงพยาบาลชุมชน เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 17 กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวชาชีพที่ ปฎิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชน เขตตรวจราชการ สาธารณสุขที่ 17 จำนวน 328 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้เป็น แบบสอบถาม ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ข้อมูลส่วนบุคคล พฤติกรรมการนิเทศงานของหัวหน้าหอ ผู้ป่วย ประสิทธิผลการบันทึกการพยาบาล ตรวจสอบความตรงตามเนี้อหาและวิเคราะห์หาความ เที่ยงของส่วนที่ 2 และ 3 ได้เท่ากับ .97 และ .96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) พฤติกรรมการนิเทศการพยาบาลของหัวหนัาหอผู้ป่วย ตามการ รับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ มีค่าเฉลี่ย โดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับสูง (2) ประสิทธิผลการบันทึกการ พยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ มีค่าเฉลี่ย โดยรวมอยู่ในระดับสูง และ (3) ความสัมพันธ์ ระหว่างพฤติกรรมการนิเทศการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วยด้านความรู้ ด้านเจตคติ และด้าน ทักษะมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลการบันทึกการพยาบาล ตาม การรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.236en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบันทึกการพยาบาลth_TH
dc.subjectการสื่อสารทางการพยาบาลth_TH
dc.subjectการพยาบาลth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการนิเทศการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วยกับประสิทธิผลการบันทึกการพยาบาลโรงพยาบาลชุมชนเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 17th_TH
dc.title.alternativeRelationship between the supervisory behavior of head nurses and the effectiveness of nurse's note at community hospitals, Public Health Inspection Region 17th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2011.236en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive study were: (1) to study supervisory behavior of Head Nurses , (2) to study the effectiveness of Nurse’s Note, and (3) to study the relationship between the supervisory behavior of head nurses and the effectiveness of Nurse’s Note at community hospitals, Public Health Inspection Region 17. The sample comprised 328 professional nurses who worked at community hospitals, Public Health Inspection Region 17. They were selected by stratified random sampling technique. Questionnaires were used as research tools and comprised three sections: demographic data, supervisory behavior and effectiveness of nurse’s note. The questionnaires were tested for validity and reliability. The reliability of the second and the third sections were .97 and .96 respectively. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson’s product moment correlation coefficient. The major findings were as follows. (1) Professional nurses rated supervisory behavior of their head nurse at the high level. (2) They rated their effectiveness of nurse’s note at the high level. (3) There were significantly positive relationships between the supervisory behavior of head nurses in terms of knowledge, attitudes, skills and the effectivesness of nurse’s note reports at moderate level (P<.01).en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib128945.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.82 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons