Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2065
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารี ชีวเกษมสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorรัชนี นามจันทรา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจิราวรรณ จันทร์สมบูรณ์, 2502--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-08T02:41:55Z-
dc.date.available2022-11-08T02:41:55Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2065-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การรับรู้คุณภาพของการ บริการจักษุวิทยาของผู้ใช้บริการ โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง) และ (2) เหตุผลการเลือกใช้ บริการจักษุวิทยาของผู้ใช้บริการ แผนกผู้ป่วยนอกจักษุ โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้จากการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) ได้แก่ 1) กลุ่มที่ตอบแบบสอบถาม เป็นผู้ใช้บริการที่แผนกผู้ป่วยนอกจักษุ โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง) จำนวน 398 คน และ 2) กลุ่มที่ร่วมสนทนากลุ่ม เป็นผู้ใช้บริการ ที่แผนกผู้ป่วยนอกจักษุ จำนวน 6 คน เครื่องมือที่ใช้ไนการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ (1) แบบสอบถามคุณภาพของ การบริการจักษุวิทยา แผนกผู้ป่วยนอกจักษุ และ (2) แนวคำถามสำหรับการสนทนากลุ่มผ่านการ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและวิเคราะห์ความเที่ยงของแบบสอบถามแรกได้ ค่าความเที่ยง เท่ากับ 0.95 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ข้อมูลเชิง คุณภาพด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) คุณภาพของการบริการจักษุวิทยา ตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง) โดยรวมอยู่ในระดับสูง (X = 4.15, SD = .73) และจากการ สนทนากลุ่ม ผู้ไช้บริการมีการรับรู้ว่า คุณภาพของการบริการอยู่ในระดับดีถึงดีมาก และมีการรับรู้คุณภาพ ของการบริการประกอบด้วย 7 ด้านได้แก่ 1) ระบบการใหับริการดีและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 2) ความ สะดวกในการใช้บริการ 3) บุคลากรมีพฤติกรรมบริการที่ดี 4) การใหับริการยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง 5) อุปกรณ์และเครื่องมือทางจักษุทันสมัย 6) แพทย์เฉพาะทางและบุคลากรด้านจักษุมีความเชี่ยวชาญ และ 7) การให้ช้อมูล ความรู้ และคำแนะนำ (2) เหตุผลของการเลือกมาใช้บริการ มี 5 ข้อ ได้แก่ 1) โรงพยาบาล ต้นสังกัดส่งตัวมาหรือมีผู้แนะนำมา 2) เป็นโรงพยาบาลที่รักษาโรคตาโดยเฉพาะ 3) จักษุแพทย์ที่มีความ เชี่ยวชาญเฉพาะสาขา 4) เครื่องมือที่ทันสมัย และ 5) ความสะดวกในการเดินทางเข้ารับบริการth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.400en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง) -- ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectจักษุวิทยาth_TH
dc.titleการศึกษาคุณภาพของการบริการจักษุวิทยาตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ : กรณีศึกษาของโรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)th_TH
dc.title.alternativestudy of ophthalmolgy service quality as perceived by the clients : a case study at Mettapracharak (Watraikhing) Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.400en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this mixed method research were: (1) to investigate ophthalmology service quality as perceived by the client and (2) to study the client’s reasons for using the ophthalmology service at the Eye OPD of Mettapracharak (Watraikhing) Hospital. The sample comprised two groups of patients who used the ophthalmology service of Mettapracharak (Watraikhing) Hospital. The first group responded to questionnaires, and the second one participated in focus group discussion. They were selected by the purposive sampling technique. Research tools included (1) an ophthalmology service quality questionnaire and (2) guidelines for focus group discussion. Tools were tested for content validity. The first tool was tested for reliability, and its value was 0.95. Quantitative data were analyzed by frequency, percentage, mean, and standard deviation; while qualitative data were analyzed by content analysis. The major findings of this study were as follows: (1) Ophthalmology service quality as perceived by the clients was at the high level (M = 4.1 5, SD = .73). The patients who participated in the focus group discussion rated the service quality at the good to the best level, and they also ranked components of service quality in 7 aspects. 1) A service system was good and developed continuously. 2) Services were conveniently accessed. 3) Personnel had service-minded behaviors. 4) Services were provided based on patient- centered services. 5) Instruments and tools were modem. 6) Physicians and personnel were expert. Finally, 7) information, knowledge, and guidance were provided. ( 2 ) Clients gave five reasons of selecting this hospital. 1) Patients were referred from other hospitals or by recommendation. 2) This hospital was a special hospital for eye disease treatment. 3) Physicians were expert ophthalmologists. 4) Instruments were modem. Finally, 5) transportation was convenienten_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib130832.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.24 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons