Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2072
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีนวล สถิตวิทยานันท์, 2495- อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorดวงกมล วัตราดุลย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorดวงใจ จันทรประเสริฐ, 2496--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-08T07:44:37Z-
dc.date.available2022-11-08T07:44:37Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2072-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) เพื่อศึกษา ความเครียดในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพไทย ในรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา (2) เพื่อเปรียบเทียบความเครียดในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพไทย ในรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศ สหรัฐอเมริกา ที่มีปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ สถานภาพสมรส แผนกปฏิบัติงาน ระยะเวลาการ ปฎิบัติงาน ความสามารถทางภาษาอังกฤษ และความสามารถปฏิบัติการพยาบาล แตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นพยาบาลวิชาชีพไทย ในรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา จำนวน 132 คน ซึ่งถูกเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือวิจัยเป็นแบบสอบถาม แบ่งเป็น 2 ตอน คือ (1) ข้อมูลส่วนบุคคล และ (2) แบบสอบถามความเครียดในการทำงาน แบบสอบถามผ่านการ ตรวจสอบความตรงเชิงเนี้อหาได้ค่าดัชนีความตรงตามเนี้อหา 0.84 และค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.86 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าความถี่ ร้อยละ มัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอ ไทล์ และ Kruskal Wallis test ผลการวิจัยพบว่า (1) ความเครียดในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพไทย ในรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง มีค่ามัธยฐาน 3.37 (2) พยาบาล วิชาชีพ ที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกันด้านอายุ สถานภาพสมรส แผนกปฏิบัติงาน ระยะเวลาการ ปฏิบัติงาน ความสามารถทางภาษาอังกฤษ และความสามารถปฏิบัติการพยาบาลมีความเครียดใน การทำงานโดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน แต่พยาบาลวิชาชีพที่มีความสามารถปฎิบัติการ พยาบาลในระดับปานกลาง และระดับดีมีความเครียดด้านปริมาณงานและความกดดันด้านเวลา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.168en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพยาบาล -- ความเครียดในการทำงานth_TH
dc.titleความเครียดในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพไทยในรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกาth_TH
dc.title.alternativeOccupational stress of Thai professional nurses in the State of California, United State of Americath_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.168en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive study were: (1) to study the occupational stress of Thai professional nurses in the Slate of California, United Stale of America (2) to compare the occupational stress of Thai professional nurses with different personal factors. The sample comprised 132 Thai professional nurses in the State of California, United Slate of America. They were selected by the purposive sampling technique. Queslionnaireswas used as research loolwhichcomprised two sections: personal data and occupational stress. The questionnaireswaslested for validity and reliability. The results were 0.84 and 0.86 respectively. Data were analyzed by frequency, percentage, median, quartile deviation, and Kruskal Wallis Test. The results were as follows. (1) Thai professional nurses rated their occupalionalstress al the medium level (Md = 3.37). (2) There was no statistically significant difference between Thai professional nurses who have different personal factors in terms of age. marital status, departments, years of work, ability in English language, and ability to perform their nursing duties.The was statistically significant difference between the occupational stress al the medium and the high levels in the domains of work overload and time pressure (p< .05)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib134122.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.99 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons