Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2081
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อารี ชีวเกษมสุข, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | วิไล กุศลวิศิษฎ์กุล, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | วันเพ็ญ บุญประเสริฐ, 2506- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-11-10T00:55:27Z | - |
dc.date.available | 2022-11-10T00:55:27Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2081 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วิเคราะห์สภาพการณ์ของรูปแบบการ บริการพยาบาลอย่างเอื้ออาทรของพยาบาลวิชาชีพแผนกผู้ป่วยในอายุรกรรม โรงพยาบาลเชียงคำ (2) พัฒนา รูปแบบการบริการพยาบาลอย่างเอื้ออาทรของพยาบาลวิชาชีพ และ (3) ศึกษาและเปรียบเทียบการรับรู้ของผู้ป่วย ต่อพฤติกรรมการบริการพยาบาล อย่างเอื้ออาทรของพยาบาลวิชาชีพในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาพยาบาลในหอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย ที่ได้จากการคัดเลือก แบบเจาะจง แบ่งเป็น 2 กลุ่มๆ ละ 30 คน คือ กลุ่มทดลองเป็นผู้ป่วยที่ได้รับการบริการพยาบาลอย่างเอื้ออาทรและกลุ่มควบคุมเป็นผู้ป่วยที่ได้รับการบริการพยาบาล ตามรูปแบบเดิม เครื่องมีอที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ (1) รูปแบบการบริการพยาบาลอย่างเอื้ออาทรที่พัฒนาขึ้น (2) โครงการอบรมพยาบาลวิชาชีพ 2 ครั้ง (3) แบบสอบถามการรับรู้ของผู้ป่วยต่อพฤติกรรมการบริการพยาบาลอย่างเอึ้ออาทรของพยาบาลวิชาชีพ เครื่องมือวิจัยได้ผ่านการหาความตรงตามเนี้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามได้ ค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.95 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหา ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที ชนิด 2 กลุ่ม ที่เป็นอิสระต่อกัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ (1)โรงพยาบาลเชียงคำ ยังไม่มีรูปแบบการบริการพยาบาลอย่างเอื้ออาทรที่ ชัดเจนและไม่เป็นรูปธรรมโดยค่าเฉลี่ยของคะแนนการรับรู้ของผู้ป่วยต่อพฤติกรรมการบริการพยาบาลอย่าง เอื้ออาทรของพยาบาลวิชาชีพ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 3.46) (2) รูปแบบการบริการพยาบาลอย่างเอื้ออาทรที่พัฒนาขึ้นใหม่เป็นแบบแผนของการบริการพยาบาลที่บูรณาการด้วย 1) กระบวนการดูแลผู้ป่วย 2) กระบวนการพยาบาล และ 3) การดูแลอย่างเอื้ออาทรของสแวนสัน มีการบริการพยาบาล 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การเข้าถึงและการเข้ารับบริการ 2) การประเมินผู้ป่วย 3) การปฏิบัติการพยาบาลและการวางแผนจำหน่ายผู้ป่วย 4) การให้ข้อมูลและการเสริมพลังอำนาจ และ 5) การประเมินผล ในแต่ละขั้นตอนจะบูรณาการการดูแลอย่างเอื้ออาทร 5 ด้าน ได้แก่ 1) การรู้จักผู้ป่วย 2) การอยู่กับผู้ป่วย 3) การช่วยเหลือผู้ป่วย 4) การสนับสนุน ความสามารถของผู้ป่วย และ 5) การคงไว้ซึ่งความเชื่อของผู้ป่วย และ (3) ค่าเฉลี่ยของคะแนนการรับรู้ของผู้ป่วย ต่อพฤติกรรมการบริการพยาบาลอย่างเอื้ออาทรของพยาบาลวิชาชีพ จากการใช้รูปแบบการบริการพยาบาลอย่าง เอื้ออาทรที่พัฒนาขึ้นโดยรวมและรายด้านสูงกว่ารูปแบบเดิม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลเชียงคำ จังหวัดพะเยา. แผนกผู้ป่วยในอายุรกรรม -- การบริหาร | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การบริการพยาบาล | th_TH |
dc.subject | ผู้ป่วย -- การดูแล | th_TH |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการบริการอย่างเอื้ออาทรของพยาบาลวิชาชีพ แผนกผู้ป่วยในอายุรกรรม โรงพยาบาลเชียงคำ | th_TH |
dc.title.alternative | The development of a nursing service with caring model of professional nurses at a medical in-patient department Chiangkham Hospital | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2012.52 | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research and development were: (1) to analyze situations of a nursing service with caring model of professional nurses working at a Medical In-patient Department in Chiangkham Hospital, (2) to develop a new nursing service with caring model for professional nurses, and (3) to explore and to compare the patient perception of nursing service with caring behaviors of professional nurses between an experimental group and a control group. The samples were selected by the purposive sampling technique to include the patients at the Medical In-patient Department. They were divided into two groups: (1) 30 patients who received the new nursing service with caring model as the experimental group, and the other 30 patients who were provided with a routine nursing service model as the control group. Three research tools consisted of (1) the developed nursing service with caring model, (2) two training projects, and (3) a questionnaire for patient perception of nursing sendee with caring behaviors of professional nurses. All tools were tested for validity and reliability. The reliability of the questionnaire was 0.95. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and Independent t-test. The major findings were as follows. (1) Chiangkham hospital did not have a practical and concrete nursing service with caring model. The mean score of the patient perception of nursing sendee with caring behaviors of professional nurses in the control group at the moderate level. (A/ = 3.46). (2) The new nursing service with caring model was developed, and the nursing care pattern was integrated by 1) patient care processes, 2) the nursing process, and 3) the caring process of Swanson. The model included 5 steps: 1) access and entry, 2) assessment, 3) Implementation and discharge planning, 4) giving information and empowerment, and 5) evaluation. Each step was integrated with five caring processes: knowdng, being with, doing for, enabling, and maintaining belief. Finally, (3) the mean score of the patient perception of nursing sendee with caring behaviors of professional nurses was significantly higher than the previous model at the level 0.01 (p < 0.01) | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib135326.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 15.17 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License