Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2144
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาลี สุรเชษฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสาธิตา วิมลคุณารักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุวิทย์ ดอกคำ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-14T03:39:48Z-
dc.date.available2022-11-14T03:39:48Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2144-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.(กฎหมายมหาชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาหลักการ แนวทาง การสอบสวนอุบัติเหตุที่เกิดจากเรือขององค์การทางทะเลระหว่างประเทศภายใต้อนุสัญญาที่เกี่ยวข้อง ได้แก่อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยความปลอดภัยแห่งชีวิตในทะเล ค.ศ.1974 อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการป้องกันมลพิษจากเรือ ค.ศ.1973 อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยแนวน้าบรรทุก ค.ศ.1966 และกฎหมายทะเลหรืออนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ.1982 (2) ศึกษาเกี่ยวกับการสอบสวนอุบัติเหตุที่เกิดจากเรือตามพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้าไทย พระพุทธศักราช 2456รวมถึงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (3) ศึกษาเปรียบเทียบแนวทางการสอบสวนอุบัติเหตุที่เกิดจากเรือของต่างประเทศ (4) วิเคราะห์ เสนอแนะ แนวทางการสอบสวนอุบัติเหตุที่เกิดจากเรือของประเทศไทย งานวิจัยเรื่องนี้เป็นการวิจัยทางกฎหมาย โดยการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการวิจัยทางเอกสาร จากกฎหมายของประเทศไทย กฎหมายต่างประเทศ และอนุสัญญาระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง หนังสือกฎหมาย เอกสารอ้างอิงทางวิชาการ และบทความทางวิชาการของผู้เชี่ยวชาญทางกฎหมาย เอกสารคู่มือ แนวทางปฏิบัติขององค์การทางทะเลระหว่างประเทศจากเว็บไซต์ ผลการวิจัยพบว่า (1) การสอบสวนอุบัติเหตุที่เกิดจากเรือ องค์การทางทะเลระหว่างประเทศ ได้มีการกาหนดหลักการแนวทางการสอบสวนอุบัติเหตุที่เกิดจากเรือภายใต้อนุสัญญาที่เกี่ยวข้องดังกล่าวข้างต้นแล้ว (2) ตามพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้าไทย พระพุทธศักราช 2456รวมถึงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง พบว่ากฎหมายภายในของประเทศของไทย ไม่มีบทบัญญัติที่กาหนดเกี่ยวกับการสอบสวนหรือการค้นหาข้อเท็จจริงของอุบัติเหตุที่เกิดจากเรือที่เป็นไปตามมาตรฐานการสอบสวนที่องค์การทางทะเลระหว่างประเทศกาหนด (3) สาหรับกฎหมายของต่างประเทศที่ศึกษาได้แก่ สหราชอาณาจักรอังกฤษรัฐนิวเซาท์เวลล์ ออสเตรเลียเดนมาร์กศรีลังกา และลัตเวีย พบว่ากฎหมายภายในของแต่ละประเทศมีบทบัญญัติหลักๆสอดคล้องตามมาตรฐานการสอบสวนอุบัติเหตุขององค์การทางทะเลระหว่างประเทศและมีบทบัญญัติปลีกย่อยแตกต่างกันไปตามบริบทของแต่ละประเทศ(4) ประเทศไทยสมควรมีกฎหมายภายในประเทศเกี่ยวกับการสอบสวนอุบัติเหตุที่มีบทบัญญัติสอดคล้องตามมาตรฐานการสอบสวนอุบัติเหตุที่เกิดจากเรือขององค์การทางทะเลระหว่างประเทศเพื่อยกระดับความน่าเชื่อถือและความปลอดภัยในการเดินเรือของประเทศth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช-
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectอุบัติเหตุทางน้ำ--การสืบสวนth_TH
dc.subjectเรือ--กฎระเบียบการรักษาความปลอดภัยth_TH
dc.titleมาตรการทางกฏหมายในการป้องกันอุบัติเหตุการเดินเรือ : ศึกษากรณีการสอบสวนอุบัติเหตุที่เกิดจากเรือth_TH
dc.title.alternativeLegal measures for preventing maritime navigation accidents: a case study on vessel casualties investigationth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are : (1) to study principles and guidelines for the marine accident investigation of the International Maritime Organization (IMO) under relevant conventions such as International Convention for the Safety of Life at Sea 1974 : SOLAS 1974 , International Convention for the Prevention of Pollution from Ships 1973 as modified by the Protocol of 1978 : MARPOL 73/78, International Convention on Load Lines 1966 : LL 1966 and United Nations Convention on the Law of the Sea 1982: UNCLOS 1982. (2) to study the marine accident investigation under the Navigation in the Thai Waters Act, 1913 and other relevant laws. (3) to comparative study of guidelines for the marine accident investigation caused by foreign vessels. (4) to analyze and propose guidelines for the marine accident investigation in Thailand. This research is a legal research conducted by way of a qualitative research methodology through the study of Thai laws, foreign laws, related international conventions, law textbooks, academic articles of legal experts and documents, manuals, guidelines of the International Maritime Organization from the website. The results of the research show that: (1) The International Maritime Organization establishes the principles for the marine accident investigation under the relevant conventions as mentioned above. (2) According to the Navigation in the Thai Waters Act 1913 including relevant laws, there is no provision specifying the marine accident investigation or ascertain ting the truth about the occurred accidents in accordance with the standards set out by the International Maritime Organization. (3) The study of Foreign laws such as United Kingdom, New South Wales Australia, Denmark, Sri Lanka and Latvia show that these countries have their own domestic laws in accordance with the standards of the marine accident investigation set out by International Maritime but there are different sub-provisions depending on the context of each country. (4) Thailand should have a domestic law for marine accident investigation in accordance with the standards of the International Maritime Organization in order to improve the reliability and safety of navigation of the countryen_US
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
163622.pdfเอกสารฉบับเต็ม31.5 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons