Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2145
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | กุลธร เทพมงคล, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ศศิธร วัฒนกุลานุรักษ์, 2507- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-11-14T03:41:05Z | - |
dc.date.available | 2022-11-14T03:41:05Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2145 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการรับรู้อุปสรรคในการนำผลการวิจัยจาก โครงการวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนจากหน่วยพัฒนางานประจำสู่การวิจัย คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ระหว่าง พ.ศ. 2547 ถึง พ.ศ. 2553 ไปใช้ 2) เปรียบเทียบการรับรู้อุปสรรคในการนำผลการวิจัยไปใช้ระหว่างกลุ่ม ผู้สร้างงานวิจัยกับกลุ่มผู้ใช้งานวิจัย และ 3) เปรียบเทียบการรับรู้อุปสรรคในการนำผลการวิจัยไปใช้ระหว่างกลุ่ม โครงการที่มีการนำผลการวิจัยไปใช้น้อยกว่าร้อยละ 50 กับกลุ่มโครงการที่มีการนำผลการวิจัยไปใช้มากกว่าร้อยละ 50 การวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ กลุ่มผู้สร้างและ กลุ่มผู้ใช้งานวิจัย ที่ได้รับทุนสนับสนุนจากหน่วยพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย คณะแพทยศาสตร์คิริราชพยาบาล ระหว่าง พ.ศ. 2547 ถึง พ.ศ. 2553 ใน 68 โครงการ จำนวน 147 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบประเมินการนำผลการวิจัยที่ลงสู่การปฏิบัติของโครงการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย 2) แบบบันทึกข้อมูลทั่วไป และ 3) แบบสอบถามอุปสรรคในการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ของฟังก์และคณะ (Funk et.al., 1991) ประกอบด้วย ข้อคำถาม 4 ด้าน จำนวน 29 ข้อ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่ามัธยฐาน และส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์, Independent t test and Mann Whitney U lest ระยะที่ 2 การเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยส้มภาษณ์เชิงลึกผู้เกี่ยวข้องกับโครงการวิจัยเป็นรายบุคคล จำนวน 15 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้อุปสรรคในการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ ด้าน องค์กรสูงสุด (Md = 2.20, IQR = 0.78) โดยอุปสรรคสูงสุดรายข้อสามลำดับแรก ได้แก่ ไม่มีเวลาอ่านงานวิจัย (ร้อยละ 55.7) ไม่มีเวลาในขณะปฏิบัติงานในการคิดค้นหริอนำผลการวิจัยไปใช้ (ร้อยละ 50.3) และรู้สึกไม่มีอำนาจหน้าที่ในการเปลี่ยนแปลงกระบวนการปฏิบัติงาน (ร้อยละ 46.1 ) 2) กลุ่มผู้ใช้งานวิจัยมีการรับรู้อุปสรรคในการนำผลการวิจัยไปใช้โดยรวมสูงกว่ากลุ่มผู้สร้างงานวิจัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 และ 3) การรับรู้ อุปสรรคระหว่างกลุ่มโครงการที่มีการนำไปใช้น้อยกว่าร้อยละ 50 และกลุ่มที่มีการนำผลการวิจัยไปใช้มากกว่า ร้อยละ 50 ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p> 0.05 ) สิ่งเอื้ออำนวยในการนำผลการวิจัยไปใช้ในการปฏิบัติงานที่กลุ่มตัวอย่างต้องการมากที่สุดได้แก่การประชุมกลุ่มย่อยเพื่อฟังความเห็น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.417 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | วิจัย -- การศึกษาการใช้ | th_TH |
dc.title | อุปสรรคในการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์: กรณีศึกษาหน่วยพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล | th_TH |
dc.title.alternative | Barriers to research uilization : a case study at the routine to research Unit (R2R) the Faculty of Medicine, Siriraj Hospital | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2013.417 | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this descriptive research were: 1) to explore perception of barriers to apply research results from research projects funded by the Routine to Research Unit, the Faculty of Medicine, Siriraj Hospital during 2004-2010, 2) to compare perception of barriers to research utilization between two groups: developer and user, and 3) to compare perception of barriers to research utilization between two groups of the developers whose research projects were utilized less than 50 percent and more than 50 percent. The research was conducted into 2 phases. The first phase, the quantitative data were collected. The sample included 147 developers and users of the 68 research projects which were funded by the Routine to Research Unit, the Faculty of Medicine Siriraj Hospital during 2004-2010.The research instruments consisted of :1) the research utilization evaluation form, 2) the general data record form, and 3) the BARRIERS to research utilization scale, developed by Funk et. al. (1991), which consists of 4 factors in 29 items. Data were analyzed by using descriptive statistics, independent t-test, and Mann Whitney บ test. The second phase, the qualitative data were collected by in-depth interview with 15 stakeholders of research projects and data were analyzed by content analysis. The results show as follows. 1) The sample rated that they perceived barriers to use research results for the benefits of their organization at the highest level (Md = 2.20, IR = 0.78). The third highest scores were: (a) lack of time to read research (55.7%), (b) insufficient time to search for new ideas or implement research results while working (50.3%), and (c) lack of authority to change a process of working (46.1%). 2) The user group perceived barriers to research utilization significantly higher than the developer ((p< 0.001). Finally, 3) there was no statistical significant difference of the perception of barriers to research utilization between developers whose research projects were utilized less than 50 percent and more than 50 percent (p > 0.05). The sample needed small group discussion most to facilitate the utilization of their research results | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib141045.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 15.58 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License