Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2151
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | พัชราพร เกิดมงคล, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | สุวรรณี สุวรรณท้าว, 2506- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-11-14T04:18:01Z | - |
dc.date.available | 2022-11-14T04:18:01Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2151 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยและพัฒนานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนารูปแบบการประชาสัมพันธ์โรคติดต่ออุบัติใหม่ของ เครือข่ายสุขภาพอำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด วิธีการดำเนินการวิจัย แบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือระยะที่ 1 ศึกษาสถานการณ์การประชาสัมพันธ์โรคติดต่ออุบัติใหม่ โดยการทบทวนวรรณกรรม ศึกษาขั้นตอนการรับข้อมูลข่าวสารเรื่องโรคติดต่ออุบัติใหม่ของเครือข่ายสุขภาพ ได้แก่ผู้ใหญ่บ้าน/ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และผู้ประกาศข่าวประจำหมู่บ้าน โดยการสังเกตแบบมีส่วนร่วม และการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลหลัก 9 คน ประกอบด้วยผู้ใหญ่บ้าน 1 คน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านและทำหน้าที่เป็น อสม. จำนวน 2 คน แพทย์ประจำตำบล 1 คน อสม. 2 คน บุคลากรทางสาธารณสุข 1 คน ประชาชน 2 คน ระยะที่ 2 พัฒนารูปแบบการประชาสัมพันธ์ ผู้วิจัยร่างรูปแบบโดยใช้ข้อมูลจากระยะที่ 1 ใช้ในการนำสนทนากลุ่มสมาชิกเครือข่าย จำนวน 14 คน จนได้รูปแบบที่สมาชิกเห็นพ้อง ระยะที่ 3 นำรูปแบบที่ได้ไปทดลองใช้ 6 สัปดาห์ ประเมินและปรับปรุงรูปแบบโดยการสนทนากลุ่มสมาชิกเครือข่าย นำรูปแบบที่ปรับปรุงมาทดลองใช้อีก 6 สัปดาห์ รวมเวลาที่ทดลองใช้ 12 สัปดาห์ ประเมินการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของประชาชนในเครือข่ายเสลภูมิ จำนวน 80 คน ก่อนและหลังการใช้รูปแบบ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และ สถิต The Wilcoxon Signed- Ranks Test ผลการวิจัย ระยะที่ 1_พบประเด็นสำคัญของการประชาสัมพันธ์ 6 ประเด็น ได้แก่ 1) ข้อมูลเรื่องเดียวกันถูกส่งให้ประชาสัมพันธ์ในชุมชนโดยหน่วยราชการหลายหน่วยงาน 2) การประชาสัมพันธ์ข้อมูลด้านสุขภาพส่วนใหญ่ใช้การสื่อสารทางเดียวทำให้ประชาชนขาดการมีส่วนร่วม 3) ข้อมูลที่ได้รับจากหน่วยราชการมักใช้ภาษาที่ประชาชนเข้าใจยาก และขาดรายละเอียดในการนำไปปฎิบัติ 4) ผู้นำชุมชนซึ่งมิใช่บุคลากรทางสาธารณสุขโดยตรง มีปัญหาในเนื้อหาข่าวสารที่ส่งต่อ 5) ผู้นำชุมชน/อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน ต้องการ “ตัวช่วย” ในการถ่ายทอดความรู้สู่ประชาชน และ 6) ประสบการณ์และความสามารถส่วนบุคคลเป็นกุญแจสำคัญสู่ความสำเร็จของการประชาสัมพันธ์ในระดับชุมชน ระยะที่ 2 พัฒนารูปแบบการประชาสัมพันธ์ โดยกำหนดบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบแก่สมาชิกเครือข่ายสุขภาพร่วมกัน และปรับปรุงการประชาสัมพันธ์ใน 4 ด้าน คือ ด้านผู้ส่งสาร ด้านเนื้อหาข่าวสาร ด้านช่องทาง และด้านผู้รับสาร ระยะที่ 3 รูปแบบที่พัฒนาขึ้นคือ 1) บุคลากรหน่วยประชาสัมพันธ์โรงพยาบาลเสลภูมิ เข้าเป็นผู้ประสานงานในการประชาสัมพันธ์ระหว่างเครือข่ายสุขภาพทั้งหมด 2) มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของสมาชิกเครือข่ายสุขภาพ ในการประชาสัมพันธ์โรคอุบัติใหม่ 3) ปรับปรุงการประชาสัมพันธ์ทั้ง 4 ด้าน คือ ผู้ส่งสาร เนื้อหาข่าวสาร ช่องทางการประชาสัมพันธ์และผู้รับสาร ผลการประเมินการใช้รูปแบบ พบว่าการรับรู้ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพของประชาชนหลังจากทดลองใช้รูปแบบพบว่า สูงขึ้นกว่าก่อนการนำรูปแบบไปใช้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< .001) | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.332 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โรคติดต่ออุบัติใหม่ -- การประชาสัมพันธ์ | th_TH |
dc.subject | โรคติดต่ออุบัติใหม่ -- การแพร่ระบาด | th_TH |
dc.subject | โรคติดต่ออุบัติใหม่ -- การป้องกันและควบคุม | th_TH |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการประชาสัมพันธ์โรคติดต่ออุบัติใหม่ของเครือข่ายสุขภาพอำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด | th_TH |
dc.title.alternative | Development of a model on public relation about emerging infectious diseases of health networks, Selaphum District, Roi Et Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2013.332 | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research and development were: 1) to develop a model on public relation about emerging infectious diseases for health networks, Selaphum District, Roi Et Province. This research was divided into three phases. First, situations of public relation about infectious diseases was analyzed by a) literature review and b) study how health such as a village leader, village leader assistants, a public health volunteer, and announcers of villages obtained information of emerging infectious diseases. The latter was done by participated observation and in-depth interview with nine participants: one village leader, two village leader assistants who worked as village health volunteers, one doctor of a district, two village health volunteers, one public health personnel, and two villagers. Second, the preliminary model of public relation was developed based on data gathered in the first phase and using focus group discussions of fourteen participants, and the model was agreed and concluded. Third, the model on public relation about emerging infectious diseases was implemented for 6 weeks, evaluated, and modified according to the results of focus group discussions. Then the model was implemented for 6 weeks. Thus, the model was implemented for 12 weeks. After that, perception of public relation about emerging infectious diseases by members of health networks at Selaphum District in Roi Et Province was evaluated both before and after applying the model. Data were analyzed by descriptive statistics and the Wilcoxon Signed- Ranks Test. The results revealed as follows. First Phase’. Six issues of public relation were found. 1) The same information was sent to the village by many government sources. 2) Public relation of health information was done by one way communication, so villagers did not involve. 3) Language of government information is difficult for villagers to understand, and information is not contained enough details so villagers cannot apply into their practice. 4) Village leaders who were not trained in the field of public health had difficulties in transferring health information. 5) Village leaders and village health volunteers need help to transfer health information. 6) Experience and ability help to success in public relation in communities. Second Phase: The model on public relation about emerging infectious diseases for health networks was developed. Roles, functions, and responsibilities were specified together for members of health networks. Four areas: sender, message, channel, and receiver, were improved. Third Phase: The new model was included the following. 1) Public relation personnel of Selaphum Hospital were the coordinator for all health networks. 2) Roles, functions, and responsibilities of public relation about emerging infectious diseases were specified. 3) Four areas of public relation: sender, message, channel, and receiver were improved. The evaluation result of using the new model according to perception of health information indicated that after using the new model was higher than before (p < .001) | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib142790.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 20.59 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License