Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2155
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธีพร มูลศาสตร์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวิศิษฏ์ ฐิตวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธันยพัต พงศ์วิวัฒน์, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-14T06:45:22Z-
dc.date.available2022-11-14T06:45:22Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2155-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาความรู้ เจตคติ และการยอมรับการบริจาคอวัยวะของพยาบาลวิชาชีพ และ (2) เพี่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยส่วนบุคคล ความรู้ เจตคติ และการยอมรับการบริจาคอวัยวะของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลเชียงราย ประชานุเคราะห์ กลุ่มตัวอย่าง เป็นพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลเชียงราย ประชานุเคราะห์ จำนวน 190 คน คัดเลือกโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น ประกอบ ด้วย 4 ส่วน ได้แก่ 1) ข้อมูลส่วนบุคคล 2) ความรู้ 3) เจตคติ และ 4) การยอมรับการบริจาคอวัยวะ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนี้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน มีค่าดัชนีความตรงเชิงเนี้อหา (CVI) ของ ส่วนที่ 2, 3 และ 4 เท่ากับ 0.92, 0.89, และ 0.98 ตามลำดับ ค่า KR-20 ของความรู้ เท่ากับ 0.71 ค่าสัมประสิทธิ์ ครอนบาคอัลฟ่า ของเจตคติและการยอมรับการบริจาคอวัยวะ เท่ากับ 0.85 และ 0.89 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ สถิติพรรณนา ไคว์สแคว์และสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) สถานภาพสมรส ร้อยละ 56.8 นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 93.2 การศึกษาระดับปริญญาตรี ร้อยละ 93.7 การรับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการบริจาคอวัยวะโดยเคยมี ญาติ เพื่อนหรือพบเห็นผู้บริจาคอวัยวะ ร้อยละ 58.9 และเคยรับทราบหรือมีประสบการณ์ผ่านสื่อ ต่าง ๆ ร้อยละ 82.6 ส่วนใหญ่รับทราบหรือมีประสบการณ์เกี่ยวกับการบริจาคอวัยวะจากเอกสาร แผ่นพับ ร้อยละ 48.4 (2) ความรู้เกี่ยวกับการบริจาคอวัยวะอยู่ในระดับปานกลาง (M = 14.74, SD = 2.42) เจตคติ (M =4.16, SD = 729) และการยอมรับการบริจาคอวัยวะอยู่ในระดับมาก (M =4.27, SD =5.92) ตามลำดับ (3) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการยอมรับการบริจาคอวัยวะอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ได้แก่การรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการบริจาคอวัยวะโดยเคยรับทราบหรือมีประสบการณ์ผ่านสื่อต่างๆ ( 2 = 46.936, p-value < .01) และเจตคติมีความสัมพันธ์ในระดับมาก (r = 0.549) ส่วนอายุระยะเวลาในการ ปฏิบัติงาน การรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการบริจาคอวัยวะโดยการมีญาติ/เพี่อน, เคยพบเห็นผู้บริจาค อวัยวะและความรู้ไม่มีความสัมพันธ์กับการยอมรับการบริจาคอวัยวะของพยาบาลวิชาชีพ ผลจาก การคึกษาในครั้งนี้ ใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นสำหรับการวางแผนพัฒนาคุณภาพบริการการรับบริจาคอวัยวะ และศักยภาพของพยาบาลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการบริจาคอวัยวะ เนื้อเยื่อ ฯลฯth_TH
dc.subjectพยาบาล -- ทัศนคติth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนบุคคล ความรู้ เจตคติและการยอมรับการบริจาคอวัยวะของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์th_TH
dc.title.alternativeThe relationships between personal factors knowledge, attitude and acceptance of organ donation of registered nurses at Chiang Rai Prachanukroh Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this descriptive correlational research were 1) to study knowledge, attitude and acceptance of organ donation and 2) to find the relationships between personal factors, knowledge, attitude and acceptance of organ donation of registered nurses at Chiang Rai Prachanukroh Hospital. The sample included 190 registered nurses in Chiang Rai Prachanukroh Hospital who was selected by stratified random sampling. A questionnaire was developed and used as a research tool which consisted of 4 sections 1) Personal data 2) Knowledge 3) Attitude and 4) Acceptance of organ donation. The content validity was rated by five experts. The content validity index (CVI) of part 2, 3 and 4 were 0.92, 0.89, and 0.98, respectively. The KR-20 of knowledge part was 0.71 and the Cronbach’s Alpha Coefficient of attitude and acceptance part were 0.85 and 0.89, respectively. Descriptive statistics Chi-square and Pearson product moment correlation were used as data analysies. The findings revealed as follows. (1) Married status 56.8%, Buddhism 93.2%, Bachelor’s degree 93.7% , Information receiving of organ donation from having family, friends and experienced to organ donation 58.9%, various media 82.6%, by pamphlet 48.4%, (2) The knowledge related to organ donation was at the moderate level (M = 14.74 , SD = 2.42); meanwhile, the attitude and acceptance were at the high level (M = 4.16, SD = 7.29 and M = 4.27, SD = 5.92 respectively) (3) The factors significantly correlated to acceptance of organ donation at p-value < .01 were information receiving of organ donation through various medias ( 2 = 46.936, p-value < .01) (x“ = 46.936, p-value < .01), attitude toward organ donation (r = 0.549) which highly correlated. However, age, working duration, having family , friends and experienced to organ donation and knowledgetoward organ donation were not significantly correlated. The findings was database and used for the development of service for organ donation system and skills of nursesen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib142972.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.44 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons