Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/216
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ฐปนรรต พรหมอินทร์ | th_TH |
dc.contributor.author | นเรศ ธำรงค์ทิพยคุณ, 2509- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-03T04:07:12Z | - |
dc.date.available | 2022-08-03T04:07:12Z | - |
dc.date.issued | 2548 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/216 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2548 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัญหาที่ดินทำกินของราษฎรในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ก่อนและหลังการแก้ไขปัญหาตามมติคณะรัฐมนตรี (2) วิธีการแก้ไขปัญหาที่ดินทำกินของราษฎรในแง่การเมืองในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ตามมติคณะรัฐมนตรี (3) ผลของการแก้ไขปัญหาในทางการเมืองและผลทางการเมืองที่เกิดขึ้นตามมาจากการแก้ไขปัญหาที่ดินทำกินของราษฎรในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ตามมติคณะรัฐมนตรี กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชนในป่าไม้เขตพื้นที่อนุรักษ์ จำนวน 196 คน และเจัาหน้าที่รัฐที่มีหน้าที่รับผดชอบนำนโยบายตามมติคณะรัฐมนตรีไปปฏิบัติ จำนวน 4 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมล ได้แก่ คำความถี่ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคสแควร์ และการวิเคราะห์เนี้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัญหาที่ดินทำกินลดลงเหลือระดับค่อนข้างน้อยหลังการแก้ไขปัญหาตามมติคณะรัฐมนตรี 2) วิธีการแก้ไขปัญหาที่ดินทำกิน ได้แก่ 2.1) ราษฎรเข้าไปมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาที่ดินทำกินโดยการรับข่าวสารการแก้ไขปัญหาเป็นลำดับแรก และ 2.2) ราษฎรเข้าร่วมหาวิธีการแก้ไขปัญหาที่ดินทำกินในชุมชนในระดับผสมผสานวิธีที่รัฐกำหนดร่วมกับวิธีการที่ประชาชนเสนอเป็นอันดับแรก และ 3) ราษฎรส่วนใหญ่เห็นด้วยว่าการแก้ไขปัญหาที่ดินทำกินประสบความสำเร็จโดยมีผลทำให้ประชาชนตื่นตัวทางการเมืองเพิ่มมากยิ่งขึ้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2005.291 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | - |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การมีส่วนร่วมของประชาชน | th_TH |
dc.subject | การมีส่วนร่วมทางการเมือง -- ไทย | th_TH |
dc.subject | ที่ดิน -- ไทย -- แง่การเมือง | th_TH |
dc.title | การแก้ไขปัญหาที่ดินทำกินตามมติคณะรัฐมนตรีกับผลทางการเมืองที่เกิดขึ้นตามมา : กรณีศึกษาอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย จังหวัดเชียงใหม่ | th_TH |
dc.title.alternative | Solutions to land occupancy problems according to the cabinet' s resolution and political results : a case study of Doi Suthep-Pui National Park in Chiang Mai province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2005.291 | - |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to study (1) land occupancy problems in protected forest areas before and after problem - solving according to the cabinet’s resolution (2) Political Solutions to land occupancy problems in protected forest areas according to the cabinet’s resolution and (3) the effect of problem - solving on politics and political results after that according to the cabinet’s resolution. The sample consisted of 196 people who lived in the protected forest areas at Doi Suthep-Pui National Park and 4 government officers who were responsible for policy implementation according to the cabinet’s resolution. The research tools were questionnaires and interview. Data were analyzed by using frequency, mean, standard deviation, Chi-square and content analysis. The finding were that 1) land occupancy problems decreased to a rather low level after problem - solving according to the cabinet’s resolution; 2) solutions to land occupancy problems were as follows: 2.1) people participated in the problem-solving by keeping informed about it in the first place; 2.2) people cooperated in finding solutions to the problems, primarily using a combination of government - oriented and people - oriented methods; and 3) most of the people agreed that the land occupancy problem - solving was successful and this caused people to be more stimulated in politics | en_US |
dc.contributor.coadvisor | จุมพล หนิมพานิช | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | ประพนธ์ เจียรกูล | th_TH |
Appears in Collections: | Pol-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 6.49 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License