Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2170
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเรวดี จรุงรัตนาพงศ์th_TH
dc.contributor.authorอัจฉรา สุบรรณ์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-11-14T08:42:07Z-
dc.date.available2022-11-14T08:42:07Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2170en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินมูลค่าเชิงนันทนาการของหาดบางเสร่ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี 2) ประเมินมูลค่าเชิงนันทนาการที่เปลี่ยนแปลงไปหากเกิดปัญหาขยะเพิ่มขึ้นในพื้นที่หาดบางเสร่ในการดำเนินการศึกษาได้เก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ โดยใช้แบบสอบถามในการสำรวจนักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวหาดบางเสร่ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี จำนวน 400 ตัวอย่าง โดยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง เพื่อประเมินมูลค่าเชิงนันทนาการจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม ด้วยวิธีวิเคราะห์ต้นทุนการเดินทางแบบรายบุคคล สำหรับการวิเคราะห์ใช้การวิเคราะห์เชิงพรรณนา และการวิเคราะห์เชิงปริมาณ โดยใช้การวิเคราะห์การถดถอยแบบพัวซอง ต้นทุนการเดินทางของนักท่องเที่ยวมีความสัมพันธ์ผกผันกับจำนวนครั้งในการเดินทางมาท่องเที่ยวหาดบางเสร่ และมูลค่าเชิงนันทนาการของหาดบางเสร่จะลดลง หากสิ่งแวดล้อมของหาดบางเสร่มีการเปลี่ยนแปลง คือ เกิดปัญหาขยะจากการศึกษาพบว่า 1) ผลการคำนวณมูลค่าเชิงนันทนาการของหาดบางเสร่ ด้วยการคำนวณมูลค่าส่วนเกินผู้บริโภคต่อคนของการท่องเที่ยวชายหาดบางเสร่ที่ประเมินได้ มีค่าเท่ากับ 6,405 บาทต่อคน ณ ราคาปี พ.ศ. 2558 และเมื่อนำมาคำนวณกับจำนวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาเที่ยวหาดบางเสร่โดยเฉลี่ยปีละ 183,467 คน ได้มูลค่าประโยชน์จากการท่องเที่ยวเท่ากับ 1,175,106,135 บาทต่อปี และ 2) การมีปัญหาขยะส่งผลทำให้มูลค่าส่วนเกินผู้บริโภคต่อคนในกรณีมีปัญหาขยะเกิดขึ้นลดลงเหลือเพียง 114 บาทต่อคนต่อปี ณ ราคาปี พ.ศ. 2558 เพราะปัญหาขยะมีผลทำให้นักท่องเที่ยวถึงร้อยละ 76 ตัดสินใจไม่กลับมาท่องเที่ยวชายหาดแห่งนี้อย่างแน่นอนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. เอกวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการท่องเที่ยว--การประเมินth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.subjectหาดบางเสร่--การประเมิน.--ชลบุรีth_TH
dc.titleการประเมินมูลค่าเชิงนันทนาการ : กรณีหาดบางเสร่ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeEstimation of recreational value : a case of Bangsaray Beach, Sattahip District, Chonburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are 1) to estimate the recreational value of the case of Bangsaray Beach, Sattahip District, Chonburi Province and 2) to estimate the recreational value of a quality change in Bangsaray Beach. The survey was conducted in Bangsaray Beach, with a total of 400 samples (face-to-face interview). The recreational value of Bangsaray beach was estimated by using the Individual Travel Cost Method (ITCM). The recreation valuation was considered with both descriptive analysis and quantitative analysis; analyzing by Poisson Regression which assumed Travel cost of tourists are related inversely to quantity of their visiting and the recreation valuation of the case of Bangsaray Beach is decreased due to environment degradation (as the case of rubbish problem). The results showed that 1) an estimation of recreational value of Bangsaray Beach per person was 6,405 Baht in the year of 2015, or 1,175,106,135 Baht per year in total, with the total of 183,467 tourists annually and 2) this study also found that the rubbish problem leading to a reduction in consumer surplus at 114 Baht per person per year because this problem discouraged most samples (76%) tourists from coming back to Bangsaray Beach again.en_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
152462.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons