Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2173
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธีพร มูลศาสตร์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorปิยะนันต์ อิสสระวิทย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorดวงพร วัฒนเรืองโกวิท, 2511--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-11-15T02:05:52Z-
dc.date.available2022-11-15T02:05:52Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/2173-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาระบบสารสนเทศเพี่อการจัดการการ ดูแลผู้ป่วยเบาหวาน (2) เปรียบเทียบประโยชน์ในการนำไปใช้ของระบบสารสนเทศ และ (3) เปรียบเทียบความพึงพอใจของพยาบาลวิชาชีพ ต่อระบบสารสนเทศเพี่อการจัดการการดูแลผู้ป่วย เบาหวานระหว่างระบบเดิมและระบบที่พัฒนาขึ้น รูปแบบการวิจัยเป็นแบบการวิจัยและพัฒนา มี 4 ขั้นตอน (1) สำรวจสภาพปัญหาและความ ต้องการการพัฒนาระบบสารสนเทศ (2) ออกแบบระบบสารสนเทศ (3) ทดลองใช้ระบบสารสนเทศ และ (4) ประเมินผลระบบระบบสารสนเทศ กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยหัวหน้างาน จำนวน 11 คน เป็นกลุ่มผู้พัฒนาระบบสารสนเทศ และพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 30 คน เป็นกลุ่มผู้ใช้ระบบ สารสนเทศและประเมินประโยชน์ในการนำไปใช้และความพึงพอใจต่อระบบสารสนเทศเครื่องมือ การวิจัยประกอบด้วย (1) โครงการการพัฒนาระบบสารสนเทศเพี่อการจัดการการดูแลผู้ป่วย เบาหวาน (2) คู่มือการใช้ระบบสารสนเทศ และ (3) แบบสอบถาม มี 3 ส่วน ประกอบด้วยข้อมูล ทั่วไป ประโยชน์ในการนำไปใช้ และความพึงพอใจของพยาบาลวิชาชีพต่อระบบสารสนเทศ โดย ส่วนที่ 2 และ 3 มีค่าดัชนีความตรง (CVI) เท่ากับ .87 และ.86 และมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .97 เท่ากับ .97 ตามลำดับ ผลการวิจัยพบว่า ระบบสารสนเทศเพี่อการจัดการการดูแลผู้ป่วยเบาหวานที่ถูกพัฒนา ด้วยเทคโนโลยีเว็บแอพพลิเคชั่น (Web application) และเว็บเซอร์วิส (Web services) ประกอบด้วย ข้อมูลที่จำเป็นต่อการจัดการการดูแลผู้ป่วยเบาหวานอย่างครอบคลุม ซึ่งเข้าถึงได้ที่เว็บไซต์ โรงพยาบาลยโสธร (http://www.yasolhon.org หรือ http://l 13.53.236.26/emr) และการเปรียบเทียบ ประโยชน์ในการนำไปใช้ของระบบสารสนเทศที่พัฒนาขึ้นพบว่าดีกว่าระบบเดิม และพยาบาล วิชาชีพ มีความพึงพอใจต่อระบบสารสนเทศเพี่อการจัดการการดูแลผู้ป่วยเบาหวานที่พัฒนาขึ้น มากกว่าระบบเดิมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.309en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาลยโสธร -- การจัดการth_TH
dc.subjectระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการth_TH
dc.subjectเบาหวาน -- ผู้ป่วย -- การดูแลth_TH
dc.titleการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน โรงพยาบาลยโสธรth_TH
dc.title.alternativeThe development of information technology system for diabetes care management in Yasothon Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2014.309en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the research and development study were: (1) to develop the information technology system for diabetes care management, (2) to compare the usefulness of the information technology system, and (3) to compare the satisfaction of professional nurses toward the information technology system for diabetes care management between the previous system and the developed system. The research comprised 4 processes: (1) situational analysis, (2) information technology system design, (3) information technology system testing, and (4) information technology system evaluation. The subjects included 11 department leaders who produced the information technology system and 30 registered nurses who were users and evaluated the usefulness and satisfaction of the information technology system. The study tools comprised (1) the project of developing the information technology system for diabetes care management in Yasothon hospital, (2) Information technology system manual, and (3) questionnaires which consisted of 3 sections: general data, the usefulness of the information technology system and the satisfaction of registered nurses. The content validity indexes (CVI) of 2nd and 3 rd sections were .87 and .86; while, the Cronbrach’s alpha reliability coefficients were .97 and 97 respectively. The results showed as follows. (1) The information technology system for diabetes care management which was created by web application and web services comprised essential data for diabetes care management which can be accessed on the website of Yasothon Hospital (http://www.yasothon.org or http://l 13.53.236.26/emr). (2) Nurses rated the usefulness and their satisfaction on the information technology system for diabetes care management after implementing the model significantly higher than before (p < .01)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib144793.pdfเอกสารฉบับเต็ม25.21 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons